Page 222 - แผน เล่มที่ 1 R&D
P. 222
218
5. สาระการเรียนร ู้
การท างานและหน้าที่ของข้อต่อ
ิ
6. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้
6.1 ขั้นที่ 1 ขั้นน า (Orientation : O)
1) นักเรียนและครูร่วมกันพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของข้อต่อในร่างกายมนุษย์
เช่น
ี่
- ข้อต่อทเคลื่อนไหวไม่ได้ (Completely Immovable Joint) เป็นข้อต่อ
ของกระดูกที่มีลักษณะแบน ขอบหยัก จะถูกเชื่อมกันโดย Fibrous Tissue และช่องตามรอยต่อจะมี
เส้นใยของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันแทรกอยู่ เช่น กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกหน้า เป็นต้น
ี่
- ข้อต่อทเคลื่อนไหวได้ (Slightly Movable Joint) เป็นลักษณะของข้อต่อ
ื่
ที่กระดูกทั้งสองชิ้นมาเชื่อมต่อกันแล้วสามารถเคลอนไหวไปมาได้เล็กน้อย
- ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ (Freely Movable Joint) เป็นข้อต่อ
ุ
ที่พบมากที่สด ข้อต่อชนิดนี้ท าให้อวัยวะส่วนนั้นๆ มีการเคลื่อนไหวได้มาก ซึ่งเป็นข้อต่อที่เกิดจาก
กระดูก 2 ชิ้นขึ้นไปมาต่อกัน
2) นักเรียนพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทของข้อต่อที่พบในร่างกายมนุษย์
ดังนี้
- ข้อต่อเอ็น (fibrous joint)
- ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilaginous joint)
- ข้อต่อซินโนเวียล (synovial joint)
์
3) นักเรียนรับทราบจุดประสงคการเรียนรู้ เรื่อง การท างานและหน้าที่ของข้อต่อ
จากครู
4) นักเรียนรับทราบถึงวิธีการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างองคความรู้ด้วยตนเอง
์
และรับทราบถึงบทบาทหน้าที่ของสมาชิกกลุ่ม จากครู
5) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย จุดมุ่งหมาย ความหมายและความส าคัญ
้
ของสิ่งที่ไดเรียนรู้จากเรื่อง การท างานและหน้าที่ของข้อต่อ
6.2 ขั้นที่ 2 ขั้นแสดงความคิด (Elicitation : E)
6) นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับความรู้เดิมที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้ว และร่วมกัน
ิ
อภิปราย แนวคิด ค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงความรู้เดมไปสู่ความรู้เรื่อง การท างานและหน้าที่ของข้อต่อ
7) นักเรียนรับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ี่
ึ
ึ
ุ
เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศกษาปีท 4 รายวิชาสขศกษา
ชุดที่ 3 ระบบกระดูกและข้อต่อ จากครู
8) นักเรียนรับฟังแนวทางการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้จากครูเพื่อให้
นักเรียนทราบว่า นักเรียนควรจะศึกษาเรื่องนี้ให้ละเอียดก่อนการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการ
เรียนรู้ในชั่วโมงที่จะเรียนต่อไปนี้