Page 73 - แผน เล่มที่ 2 R&D
P. 73
69
6.3 ขั้นที่ 3 ขั้นเข้าสู่ปัญหาและนิยามปัญหา (Encountering and Defining the
problem : E)
11) ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ความส าคัญของการมีเพื่อน พร้อมกับ
ตั้งค าถาม เช่น
- นักเรียนคิดว่าเพื่อนที่ดีต้องมีลักษณะเช่นไร
- เพื่อนในห้องเรียนมีลักษณะอย่างไร
ี่
ั
12) นักเรียนศึกษาใบความรู้ท 3 เรื่อง ความส าคญของการมีเพื่อน ร่วมกันเป็นกลุ่ม
13) ครูคอยแนะน า และชี้แนะเนื้อหาเพิ่มเติม
ี
ั
14) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวีดิทศน์ เรื่อง “เพื่อนไม่ดี vs เพื่อนด” ที่ครูน ามาให้
นักเรียนชม ช่วยกันวิเคราะห์ และตอบค าถาม ดังนี้
(https://www.youtube.com/watch?v=yPBhSgRXJ20)
- เพื่อนไม่ดีและเพื่อนดีมีลักษณะที่แตกต่างกันอย่างไร
- นักเรียนมีวิธีแก้ไขเพื่อนไม่ดีให้เป็นคนดีได้อย่างไร
- นักเรียนได้ข้อคิดอะไรบ้างจากการชมวีดิทัศน์ เพื่อนไม่ดี vs เพื่อนด ี
6.4 ขั้นที่ 4 ขั้นหาข้อมูลและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (Data Collection : D)
15) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตอบค าถาม คดวิเคราะห์เกี่ยวกับวีดิทัศน์
ิ
ี
เรื่อง เพื่อนไม่ดี vs เพื่อนด และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับครู
16) นักเรียนแต่ละคนท าใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ความส าคัญของการมีเพื่อน
ด้วยตนเองไม่ลอกเพื่อน
17) นักเรียนแต่ละกลุ่มท าใบงานที่ 3 เรื่อง ความส าคัญของการมีเพื่อน โดยสืบค้น
ข้อมูลจากใบความรู้ อินเทอร์เน็ต หรือห้องสมุดในโรงเรียน
6.5 ขั้นที่ 5 ขั้นการมีส่วนร่วมและการปฏิบัติกิจกรรม (Instruction Activities and
Restruction of Ideas : I)
18) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลงานจากการปฏิบัติกิจกรรม จากใบงานที่ 3
เรื่อง ความส าคัญของการมีเพื่อน จนครบทุกกลุ่ม
19) นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความส าคัญของการมีเพื่อน และร่วมกันแสดง
ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากความรู้เดิม ช่วยขยายขอบเขตความคิดเห็นให้กว้างมากยิ่งขึ้น
20) นักเรียนในกลุ่มร่วมสนทนาโต้ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุ่มร่วมกัน
เกี่ยวกับความส าคัญของการมีเพื่อน เช่น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนิยามค าว่าคุณลักษณะของเพื่อนที่ดี
นั้นต้องมีลักษณะอย่างไร
- เพื่อนแท้หาง่าย เพื่อนตายหายากนั้นมีความหมายว่าอย่างไร