Page 92 - แผน เล่มที่ 2 R&D
P. 92
88
6.3 ขั้นที่ 3 ขั้นเข้าสู่ปัญหาและนิยามปัญหา (Encountering and Defining the
problem : E)
ี
11) ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ลักษณะของเพื่อนที่ด พร้อมกับ
ตั้งค าถาม เช่น
ี
- เพื่อนที่ดมีลักษณะอย่างไร
- มิตรภาพระหว่างเพื่อนมีความส าคัญอย่างไร
ี
12) นักเรียนศึกษาใบความรู้ท 4 เรื่อง ลักษณะของเพื่อนที่ด ร่วมกันเป็นกลุ่ม
ี่
13) ครูคอยแนะน า และชี้แนะเนื้อหาเพิ่มเติม
14) นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาบทความที่ครูน ามาให้นักเรียนอ่าน และช่วยกัน
วิเคราะห์ และตอบค าถาม ดังนี้
ี
ิ
จากข้อมูลผลสารวจพฤตกรรมรังแกกันในโรงเรียนของประเทศไทยเปรียบเทยบ
กับประเทศอื่น ๆ ที่มีปัญหานี้เช่นกัน พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 2 ที่มีสัดส่วนนักเรียน
ถูกรังแกถึงร้อยละ 40 รองจากประเทศญี่ปุ่นทมีนักเรียนถึงร้อยละ 60 ถูกเพื่อนรังแก
ี่
ื
่
ื
็
ี่
ี่
้
้
ผลระยะยาวทเกิดขึ้น คอ หากเดกทถูกรังแกบ่อย ๆ แลวไม่ไดรับการชวยเหลอหรือ
ั
แก้ปัญหาย่อมเสี่ยงต่อการเติบโตมาด้วยภาวะซึมเศร้าในอนาคต หรือถูกกดดนจนถึงกับฆ่า
ู้
ี่
็
ตัวตายซึ่งพบมากในประเทศญี่ปุ่นและอังกฤษ ฝ่ายเดกทชอบไปรังแกคนอื่นหากไม่มีผใหญ่
้
ิ
ิ
เข้าไปอบรมสั่งสอนหรือมีแต่ให้ท้ายแล้วเด็กในกลุ่มนี้มีแนวโน้มเตบโตมาดวยการเคยชนกับ
้
การใชความรุนแรงกับครอบครัว คนรอบข้าง กลายเป็นอันธพาลไม่มีใครอยากคบหา
เป็นที่รังเกียจของคนในสังคม
- ปัญหาการรังแกกันในโรงเรียนเกิดจากสาเหตุอะไร
- ถ้าเห็นเพื่อนถูกรังแก นักเรียนมีวิธีหาทาแก้ไขอย่างไร
- ในโรงเรียนมีปัญหาการรังแกกันหรือไม่ ถ้ามีนักเรียนมีวิธีแก้ปัญหา
อย่างไร
6.4 ขั้นที่ 4 ขั้นหาข้อมูลและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (Data Collection : D)
15) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันตอบค าถาม คดวิเคราะห์เกี่ยวกับบทความ และ
ิ
สนทนาแลกเปลี่ยนความคดเห็นร่วมกันกับครู
ิ
16) นักเรียนแต่ละคนท าใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ลักษณะของเพื่อนที่ด ด้วยตนเอง
ี
ไม่ลอกเพื่อน
17) นักเรียนแต่ละกลุ่มท าใบงานที่ 4 เรื่อง ลักษณะของเพื่อนที่ด โดยสืบค้นข้อมูล
ี
จากใบความรู้ อินเทอร์เน็ต หรือห้องสมุดในโรงเรียน
18) นักเรียนแต่ละคนเข้าเล่นเกมออนไลน์ WordWall เพื่อท าแบบทดสอบ
หลังเรียน ชุดที่ 4 คณค่าของครอบครัวและเพื่อน จ านวน 10 ข้อ
ุ