Page 110 - สัมมนา 2_2563_Neat
P. 110
104
บทน า
ดินที่ได้รับอิทธิพลจากเกลือนับว่าเป็นปัญหาส าคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งความเค็ม
ของดินในแต่ละพนที่ไม่มีความสม่ าเสมอและความเค็มจะเปลี่ยนไปสะสมในชั้นดินต่างๆ ไม่เท่ากัน
ื้
ตามฤดูกาล ประกอบกับเนื้อดินส่วนใหญ่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นดินทราย ยิ่งส่งผลต่อการ
ื่
แพร่กระจายของความเค็มจากความสามารถในการซึมผ่านได้ของน้ าในดิน การใช้ดินเพอ
เกษตรกรรมอย่างเข้มข้นโดยไม่มีการน าเข้าของธาตุอาหารพืชและอินทรียวัตถุเป็นสาเหตุส าคัญที่เร่ง
การลดลงของอินทรียวัตถุที่สะสมในดิน ส่งผลให้เกิดการลดลงของผลผลิตและเพมความเสื่อมโทรม
ิ่
ื้
ของดินอย่างต่อเนื่องและยิ่งทวีความรุนแรงอย่างเด่นชัดในพนที่เขตร้อนที่สภาพอุณหภูมิประเทศมี
อุณหภูมิสูงและฝนตกชุก จากปัญหาทั้งหมดที่ได้กล่าวมานี้ท าให้วิธีการจัดการแก้ไขและปรับปรุงดิน
ู
เค็มมีความยุ่งยาก และต้องค านึงถึงปัญหาหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน การฟนฟพนที่ดินเค็มโดย
ื้
ื้
การใช้วัสดุอินทรีย์ที่หาได้ในพื้นที่เป็นวิธีหนึ่งที่ง่ายและสะดวกต่อเกษตรกรในการจัดหาได้ในท้องถิ่น
การใช้วัสดุอินทรีย์ส่งผลต่อสมบัติทางดินทั้งทาง ฟสิกส์ เคมี และชีวภาพ วัสดุอินทรีย์ที่มีคุณภาพ
ิ
ต่างกันมีผลท าให้จุลินทรีย์เกิดกิจกรรมในการย่อยสลายและมีการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้
ในอัตราแตกต่างกันซึ่งส่งผลต่อการสะสมอินทรีย์คาร์บอนในดิน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพอ
ื่
อภิปรายการใช้วัสดุอินทรีย์ที่มีองค์ประกอบทางเคมีต่างกันต่ออัตราการสลายตัวการปลดปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์และปริมาณอินทรีย์คาร์บอน