Page 256 - Research Design
P. 256

                 236 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
10.3 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
  ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ ําณเปน็ ขอ้ มลู ทม่ี คี วํามสํามํารถใน เชิงคณิตศําสตร์ กํารวิเครําะห์ข้อมูลประเภทนี้มุ่งหํา ข้อเท็จจริงและข้อสรุปเชิงปริมําณที่เป็นตัวเลขสําหรับ เป็นหลักฐํานยืนยันควํามถูกต้องของข้อสรุป กําร วเิ ครําะหข์ อ้ มลู เชงิ ปรมิ ําณทนี่ ยิ มใชค้ อื วธิ กี ํารวเิ ครําะห์ ทํางสถิติ เน่ืองจํากเป็นวิธีกํารท่ีสํามํารถอ้ํางอิงข้อสรุป จํากกลุ่มตัวอย่ํางไปสู่กลุ่มประชํากรได้ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
(1) สถติ เิ ชงิ พรรณนํา (Descriptive Statistics) ใชใ้ นกํารสรปุ หรอื บรรยํายลกั ษณะขอ้ มลู (หรอื ตวั แปร) ทสี่ นใจ ไดแ้ ก่ คํา่ เฉลยี่ (mean), สว่ นเบยี่ งเบนมําตรฐําน (Standard Deviation (SD)), ควํามถี่, ร้อยละ, ค่ําฐํานนิยม (mode), ค่ํามัธยฐําน (median)
(2) สถิติเชิงอ้ํางอิง (Inferential Statistics) ใช้ในกํารวิเครําะห์ข้อมูลท่ีต้องกํารนําค่ําสถิติที่ได้จําก กลุ่มตัวอย่ํางไปประมําณค่ําประชํากร หรือสรุปอ้ํางอิง ถึงประชํากรได้โดยใช้หลักควํามน่ําจะเป็น แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม
(2.1) กํารเปรียบเทียบ (Comparative) ค่ําเฉลี่ย ได้แก่ สถิติวิเครําะห์เปรียบเทียบค่ําเฉลี่ย ระหว่ํางกลุ่ม แบบ 2 กลุ่ม (t-test) แบบ 3 กลุ่มขึ้น ไป (one-way ANOVA)
(2.2) กํารหําควํามสมั พนั ธ์(Associative) ระหวํา่ งตวั แปร ไดแ้ ก่ สถติ วิ เิ ครําะหส์ หสมั พนั ธเ์ พยี รส์ นั (Pearson correlation) และไค-สแควร์ (Chi-square)
(2.3) กํารทํานําย (Prediction) เป็นกําร ทํานํายตัวแปร ได้แก่ สถิติวิเครําะห์ถดถอย (Simple Regression Analysis และ Multiple Regression Analysis)
(2.4) กํารจดั กลมุ่ (Grouping) เปน็ กํารจดั ข้อมูลออกเป็นกลุ่มเรียกว่ํา กํารวิเครําะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) และกํารจดั กลมุ่ หนว่ ยกํารวเิ ครําะห์ เชน่ กลมุ่ คน พนื้ ที่ อําคําร เรยี กวํา่ กํารวเิ ครําะหจ์ ํา แนก กลุ่ม (Cluster analysis)
 

























































































   254   255   256   257   258