Page 258 - Research Design
P. 258

                 238 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 (1.2) แผนที่วิเคราะห์ตาแหน่ง (Position Map) เป็นกํารทําให้เห็นถึงกํารกระจํายตัวของข้อมูล ท่ีมีอยู่เพื่อทําควํามเข้ําใจข้อมูลด้วยกํารเปรียบเทียบ และพิจํารณําควํามสัมพันธ์ระหว่ํางข้อมูลจํากเกณฑ์ที่ กําหนด มีวิธีกํารท่ีสําคัญคือ
- รวบรวมข้อมูลของหน่วยกํารวิเครําะห์ เช่น สิ่งของ ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยี อําคําร สถํานที่ พ้ืนที่ เมือง กํารบริกําร หน่วยงําน แบรนด์ กลุ่มคน เป็นต้น
- กําหนดเกณฑ์หรือลักษณะสําคัญสอง ประกํารสําหรับใช้ในกํารวิเครําะห์ ซึ่งจะกําหนดให้อยู่ ในแนวเส้นแกน x และเส้นแกน y ที่ตัดกัน จะได้พื้นที่ สําหรับกํารวํางตําแหน่งหน่วยวิเครําะห์ 4 ช่องด้วยกัน เกณฑท์ กี่ ํา หนดตอ้ งมคี วํามเกยี่ วขอ้ งกบั ขอ้ มลู หรอื สงิ่ ที่ สนใจศกึ ษําทสี่ ํามํารถเปน็ ประโยชนใ์ นกํารวเิ ครําะหแ์ ละ ตคีวํามได้เชน่ กํารวเิครําะหค์อนโดมเินยีมโดยใชเ้กณฑ์ กํารใช้งํานและกํารเข้ําถึงเป็นลักษณะในกํารวิเครําะห์ ตําแหน่ง
“กํารใช้งําน” มีคุณสมบัติท่ีใส่ในแกนคือ เน้น ประโยชน์ใช้สอย และเน้นควํามสวยงําม
“กํารเข้ําถึง” มีคุณสมบัติที่ใส่ในแกนคือ ใกล้ สถํานีรถไฟฟ้ํา และไกลสถํานีรถไฟฟ้ํา
- ระบุตําแหน่ง (plot) หน่วยกํารวิเครําะห์ลง ไปในพ้ืนท่ี 4 ส่วนท่ีแนวแกน x และ y ตํามลักษณะ เกณฑ์ประกํารที่กําหนดไว้
- วิเครําะห์หําจุดร่วมของข้อมูลที่อยู่ใกล้เคียง กัน ค้นหําลักษณะท่ัวไปหรือลักษณะร่วมของข้อมูลท่ี
อยู่ในช่องเดียวกัน เช่นคุณสมบัติสมําชิกแต่ละช่องมี ควํามแตกต่ํางกันอย่ํางไร ค้นหําพื้นที่ที่ไม่มีข้อมูลอยู่ โดยต้ังคําถํามว่ําอะไรทําให้เกิดพ้ืนที่ว่ํางนั้น ผู้วิจัยอําจ ตั้งคําถํามเกี่ยวกับกํารเคล่ือนย้ํายหรือกํารเปล่ียน ตําแหน่งของข้อมูลว่ํา เป็นไปได้หรือไม่ มีแนวโน้ม เคลื่อนย้ํายไปตําแหน่งใด และจะเคลื่อนย้ํายได้อย่ํางไร
(2) กรณีข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ กํารวิเครําะห์ด้วย สถิติบรรยําย (descriptive statistics) เช่น ค่ําเฉลี่ย (mean)สว่ นเบยี่ งเบนมําตรฐําน(standarddeviation) กํารนับจํานวน ควํามถี่ ร้อยละ
10.4.2 การจัดกลุ่ม
เปน็ กํารวเิ ครําะหเ์ พอ่ื จดั ประเภท จดั กลมุ่ ขอ้ มลู จําแนกประเภท
(1) กรณีข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ กํารนิยํามกลุ่ม ผู้ใช้งําน (groups definition) และ กํารอธิบํายบุคลิก ของกลุ่ม (persona definition) ดังนี้
(1.1) การนิยามกลุ่มข้อมูล (Groups Definition) กลุ่มข้อมูลในท่ีนี้เป็นหน่วยต่ํางๆ ในกําร วจิ ยั เชน่ ผคู้ น ผใู้ ชง้ ําน สงิ่ ทศี่ กึ ษํา สง่ิ ของ พน้ื ท่ี อําคําร สถํานที่ เป็นต้น โดยใช้ลักษณะสําคัญสองประกํารท่ี สมั พนั ธก์ บั เปํา้ หมํายกํารวจิ ยั ในกํารจํา แนก วธิ กี ํารนจี้ ะ สํามํารถจําแนกควํามแตกต่ํางของสิ่งที่ศึกษําได้เป็น 4 กลุ่ม





















































































   256   257   258   259   260