Page 259 - Research Design
P. 259

                 การวิเคราะห์ข้อมูล 239
 - กําหนดลักษณะ 2 ประกํารสําคัญที่สัมพันธ์ กับเป้ําหมํายกํารวิจัยและครอบคลุมลักษณะของสิ่งท่ี ศึกษํา
ตัวอย่ําง ต้องกํารจัดประเภทกลุ่มผู้คนที่เข้ํามํา ใช้งํานพ้ืนที่เจริญกรุง (ภําพประกอบ 10.1) โดยใช้ ลักษณะสําคัญคือ
(1) ระดบั กํารรจู้ กั พน้ื ที่ (เสน้ แกน Y) และ
(2) ระดับกํารใช้งําน (เส้นแกน x)
- สร้ํางตํารํางขนําด 2 x 2 ช่อง หรือเส้นแกน 2 แกน “ตั้งชื่อหรือนิยํามกลุ่มผู้ใช้งําน” ที่อยู่ในแต่ละ ช่องทั้ง 4 ช่อง (กลุ่ม) เพ่ือใช้อธิบํายแต่ละกลุ่ม เช่น กํารวิเครําะห์พฤติกรรมกํารใช้งํานพื้นที่เจริญกรุง
สํามํารถต้ังชื่อกลุ่มได้เป็น
(1) กลมุ่ นกั สํา รวจ (explorers) เปน็ กลมุ่ คน
ท่ีมําเจริญกรุง แต่ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับเจริญกรุงเลย
(2) กลุ่มผู้บุกเบิก (pioneers) เป็นกลุ่มคน ที่มําเจริญกรุง และรู้จักเจริญกรุงเป็นอย่ํางดี
(3) กลมุ่ ผมู้ แี นวโนม้ (potentials) เปน็ กลมุ่ คนทไี่ มเ่ คยมําเจรญิ กรงุ และไมร่ อู้ ะไรเกยี่ วกบั เจรญิ กรงุ เลย
(4) กลุ่มผู้ต่อต้ําน (reluctant) เป็นกลุ่มคน ที่ไม่เคยมําเจริญกรุง แต่รู้จักเจริญกรุงเป็นอย่ํางดี
- กําหนดกลุ่มตัวอย่ํางท่ีศึกษําลงในแต่ละช่อง ตํามลักษณะที่กําหนดของสองแกน
- พิจํารณํา “คุณสมบัติ” ของสมําชิกในแต่ละ กลมุ่ จํากขอ้ มลู ทว่ั ไป เชน่ ขอ้ มลู อํายุ เพศ อําชพี ควําม รู้สึกนึกคิด กํารให้คุณค่ํา ขนําดพ้ืนท่ี เจ้ําของอําคําร ผู้อําศัย เป็นต้น
    ระดับพฤติกรรมกํารใช้งํานภํายในเจริญกรุง
   ไม่เคยใช้เลย
   ใช้ประจํา
  ระดับกํารรู้จักพื้นที่ เจริญกรุง
   ไม่รู้อะไรเลย
  กลุ่มผู้มีแนวโน้ม (potentials)
  กลุ่มนักสารวจ (explorers)
   รู้จักดี
  กลุ่มผู้ต่อต้าน (reluctant)
  กลุ่มผู้บุกเบิก (pioneers)
  ภาพประกอบ 10.1 ตัวอย่างการแบ่งกลุ่มผู้ใช้งาน










































































   257   258   259   260   261