Page 92 - Research Design
P. 92
72 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
ริเริ่ม วํางแผน วิเครําะห์ตัวต้นแบบแล้ว ผู้วิจัยต้อง รับฟังกํารวิจํารณ์ กํารให้ควํามเห็น กํารประเมินของ ผู้อื่นเป็นส่วนหน่ึงในกํารพัฒนําตัวต้นแบบด้วย กําร อภิปรําย สนทนํา จะทําให้ผู้วิจัยขยํายมุมมอง ควําม เข้ําใจ กํารคิด กํารจินตนํากําร ถึงสิ่งที่เป็นไปได้ใน อนําคต
นอกจํากน้ี กระบวนกํารสรํา้ งควํามรใู้ หมใ่ นงําน วิจัยประเภทน้ีให้ควํามสําคัญกับ “กํารแสวงหําควํามรู้ หรือควํามเข้ําใจใหม่ผ่ํานกํารสร้ํางต้นแบบ” กํารสร้ําง หรือลงมือทําต้นแบบจะนําไปสู่กํารคิด (building to think) ซงึ่ เปน็ วธิ กี ํารแกป้ ญั หําในกระบวนกํารออกแบบ โดยปกตินักออกแบบทํางํานด้วยกํารทําให้ควํามคิด กลํายเป็นส่ิงที่จับต้องได้ มองเห็นได้ Tim Brown (2009) ได้กล่ําวถึง พลังของกํารสร้ํางต้นแบบ (the power of prototyping) ว่ํา กํารวําด กํารสเก็ตช์ ภําพร่ําง กํารร่ํางแบบ กํารทําโมเดล กํารจําลอง สถํานกํารณ์ (simulation) เป็นกระบวนกํารที่ทําให้ เกิดกํารสํารวจและกลั่นกรองควํามคิด ซึ่งต้นแบบ ดังกล่ําวเป็นมํากกว่ําวัตถุท่ีจับต้องได้ แต่ยังเป็น กระบวนกํารทที่ ํา ใหเ้ กดิ การคดิ ดว้ ยมอื ทมี่ กี ํารวํางแผน และใช้คุณลักษณะหรือเป้ําหมํายกํารแก้ปัญหําเป็น ตัวนํา
กระบวนกํารที่ทําให้เกิดกํารคิดดังกล่ําวเป็น กํารทดลองสร้ํางหลํายๆ คร้ังเพ่ือเกิดกํารเรียนรู้และ คน้ หําแนวทํางใหม่ ควํามเขํา้ ใจใหมส่ ํา หรบั กํารสรํา้ งชน้ิ ถัดไป แต่ละครั้งของ “กํารสร้ําง” จะเกิดภําพ กําร ถกเถียง ภําพควํามเข้ําใจที่ชัด และยิ่งทําควํามคิดให้
เป็นรูปธรรมเร็วเท่ําไร ก็จะประเมิน กล่ันกรอง มุ่งไปสู่ วิธีแก้ปัญหําเร็วขึ้นเท่ําน้ัน
กํารทํา งํานวจิ ยั ลกั ษณะนตี้ อ้ งกํารพนื้ ทกี่ ํายภําพ ทคี่ วํามคดิ ถกู ทํา ใหจ้ บั ตอ้ งได้ นน่ั คอื งํานวจิ ยั ประเภทน้ี ตอ้ งกําร “พนื้ ทกี่ ํายภําพ” ในกํารทํา วจิ ยั constructive design research หรือเป็นพื้นท่ีท่ีควํามคิดถูกทําให้ จับต้องได้ โดยควํามรู้ควํามเข้ําใจจะเกิดข้ึนที่นี่ ดังนั้น กํารวจิ ยั นจี้ งึ ตอ้ งกํารพน้ื ทกี่ ํารวจิ ยั ทพ่ี รอ้ มทํา งํานปฏบิ ตั ิ มีเครื่องมือ อุปกรณ์ วัตถุดิบ วัสดุสําหรับกํารทดลอง โปรแกรม พรอ้ มสํา หรบั กํารทดสอบ กํารลองผดิ ลองถกู อีกทั้งสํามํารถเป็นท่ีสําหรับกํารแลกเปลี่ยนควํามเห็น ได้ด้วย (Ilpo Koskinen, John Zimmerman, Thomas Binder, Johan Redstrom, Stephan Wensveen, 2011)
รูปแบบของการวิจัยออกแบบสรรค์สร้าง
กลุ่มนักวิชํากํารกํารวิจัยออกแบบ (Ilpo Koskinen, John Zimmerman, Thomas Binder, Johan Redstrom, Stephan Wensveen, 2011) ได้ทบทวนถึงวิธีกํารที่เป็นของนักออกแบบเอง (designerly ways) ที่นําไปสู่กํารสร้ํางสรรค์ผลงําน ออกแบบในลักษณะกํารวิจัยไว้ 4 รูปแบบด้วยกัน ดังน้ี
(1) วิธีการที่เป็นการปฏิบัติการออกแบบเดิม (Design Practice Provide Methods)
วิธีนี้นําวิธีกํารปฏิบัติกํารออกแบบ (design practice) โดยเฉพําะกํารใช้เครื่องมือออกแบบแบบ ด้ังเดิม (traditional design tools) มําใช้ในกํารวิจัย