Page 24 - มคอ.4 ป.ผู้สูงอายุ ปีการศึกษา 2565
P. 24
๒๔
๕. การเตรียมการในการแนะแนวและชวยเหลือนักศึกษา
่
๕.๑ ปฐมนิเทศรายวิชาเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอน ประสบการณ์และการวัดประเมินผลก่อนฝึก
ปฏิบัติงาน เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและลดความไม่เข้าในการฝึกปฏิบัติ
๕.๒ อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ ให้ค าปรึกษาช่วยเหลือนักศึกษาเมื่อมีปัญหาการ
ฝึกปฏิบัติหรือตามความต้องการของนักศกษา
ึ
๕.๓ ฝ่ายวิชาการจัดประชุมกับรองผู้อานวยการกลุ่มการพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วย ให้ข้อมูลการ
ื่
ประเมินผลรายวิชา และแหล่งฝึกของภาคการศึกษาที่ผ่านมา เพอร่วมหาแนวทางในการช่วยเหลือ สอนนักศึกษา
และป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติงาน
๖. สิ่งอ านวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคปฏิบัติ
๖.๑ มีห้องสมุด/หนังสือ/ต ารา/วารสารส าหรับการค้นคว้าด้วยตนเอง
๖.๑.๑ ต ำรำและเอกสำรหลัก
กิตติกร นิลมานัด และรัดใจ เวชประสิทธิ์. (2559). การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1.
สงขลา : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วณิชา พึ่งชมพู. (2563). การพยาบาลผู้สูงอายุ : ประเด็นทางสุขภาพที่น่าสนใจ. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : กลุ่ม
วิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Miller, A. C.. (2012). Nursing Wellness in Older Adult 6 ed. Philadelphia : Wolters Kluwer
t
Health/Lippincott Williams & \Wilkins. ISBN-13: 978-0-7637-5580-5.
Mauk, K.L. (2006). Gerontological nursing : competencies for care Second Edition.
Massachusetts: Jones and Bartlett. ISBN 978-323-06999-1.
Meiner, E.S. (2001). Gerontoligic Nursing 4 ed. The United States of America. ISBN 978-1-60547-
th
777-0.
Kazer, W.M, ed al. (2012). Case Studies in Gerontological Nursing for the Advanced Practice
Nurse. WILEY-BLACKWELL. ISBN -13: 978-0-8138-2378-2.
th
Touhy, A. T & Jett, K. (2012). Toward Healthy Aging : Human Need & Nursing Response 8 ed.
ELSEVIER. ISBN 978-0-323-07316-5.
๖.๒ มีห้องประชุมปรึกษาทางการพยาบาล
๖.๓ มีวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์เพียงพอส าหรับการฝึกทักษะทางการพยาบาล
๖.๔ มีระบบความปลอดภัยและการบริหารความเสี่ยงส าหรับนักศึกษาที่ปฏิบัติงาน
๖.๕ มีระบบประกันและควบคุมคุณภาพการพยาบาล
มคอ. ๔ oo-๖๕