Page 108 - คู่มือการปฎิบัติงานปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
P. 108
3.1.4 กำรกลั่น (Distillation) เป็นการตรวจหาอุณหภูมิจุดเดือด และ
อุณหภูมิของการระเหยที่ปริมาตรต่างๆของน�้ามันเชื้อเพลิง (ทดสอบตามวิธีการมาตรฐาน
ASTM D86) ซึ่งค่าการกลั่นในแต่ละช่วงจะมีผลต่อเครื่องยนต์ เช่น
• ที่การระเหยในอัตราร้อยละ 10 โดยปริมาตร เป็นจุดที่จะท�าให้การติดเครื่องยนต์
ยากหรือง่าย ถ้าสูงเกินไปเครื่องยนต์ติดยาก จึงมีข้อก�าหนดจุดสูงสุดไว้ แต่ถ้า
ต�่ามากไปก็จะท�าให้เกิด Vapor Lock ได้ง่าย
• ที่การระเหยในอัตราร้อยละ 50 โดยปริมาตร เป็นจุดที่จะท�าให้การอุ่นเครื่อง
ท�าได้เร็ว การกระจาย ไอน�้ามันไปยังกระบอกสูบต่างๆ เป็นไปอย่างสม�่าเสมอ
และปรับส่วนผสมของน�้ามันกับอากาศได้ถูกต้องตลอดเวลา ท�าให้เร่งเครื่องได้ดี
เครื่องยนต์มีพลังงานสูง จึงมีการก�าหนดจุดต�่าสุดและสูงสุด
• ที่การระเหยในอัตราร้อยละ 90 โดยปริมาตร ได้ก�าหนดจุดสูงสุดไว้เพื่อให้ได้
พลังงานสูงสุดและประหยัดเชื้อเพลิง
• จุดเดือดสุดท้าย (End point) และส่วนที่เหลือจากการกลั่น (Residue) มีการ
ก�าหนดจุดสูงสุดไว้ เพื่อกันมิให้มีน�้ามันที่ไม่เผาไหม้ละลายลงในถังน�้ามันเครื่อง
มากเกินไป ท�าให้เกิดการสูญเสียและน�้ามันเครื่องเสื่อม
ดังนั้น กรมธุรกิจพลังงานจึงได้มีการก�าหนดลักษณะและคุณภาพของน�้ามันเบนซิน
และน�้ามันแก๊สโซฮอล์แต่ละช่วงไว้ดังนี้
อัตรำกำรระเหย ช่วงอุณหภูมิ
อุณหภูมิการระเหย ไม่ต�่ากว่า 35 และไม่สูงกว่า 45 องศาเซลเซียส
ที่หยดแรก (IBP)
อุณหภูมิการระเหย ไม่สูงกว่า 70 องศาเซลเซียส
ในอัตราร้อนละ 10
อุณหภูมิการระเหย
ในอัตราร้อนละ 50 ไม่ต�่ากว่า 70 และไม่สูงกว่า 110 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิการระเหย
ในอัตราร้อนละ 90 ไม่สูงกว่า 170 องศาเซลเซียส
จุดเดือดสุดท้าย ไม่สูงกว่า 200 องศาเซลเซียส
คู่มือการปฏิบัติงานปราบปรามการกระท�าผิดเกี่ยวกับน�้ามันเชื้อเพลิง 107