Page 95 - ตำรา
P. 95
- ควบคุมบรรยากาศ และสามารถตกแต่งฉากได้อย่างเต็มที่
- ไม่ต้องกังวลกับสภาพดินฟ้าอากาศ
- มีความพร้อมทางด้านเทคนิค ส่วนใหญ่มีกล้องมากกว่า 3 ตัว
นอกสตูดิโอ
แบ่งเป็น ในอาคาร (Indoor) นอกอากคาร (Outdoor)
ข้อดี - มีความเป็นธรรมชาติ ดูเป็นจริงมากกว่า
- ลดงบประมาณด้านฉาก
การถ่ายทำนอกสตูดิโอ แบ่งตามลักษณะการทำงานได้เป็น 3 รูปแบบ
1. ENG (Electronic News Gethering) เป็นการถ่ายทำโดยใช้กล้องเดี่ยว เหมาะสำหรับงาน
ที่ต้องการความคล่องตัว ใช้ทีมงานในหารถ่ายทำไม่มากนัก เช่น ข่าว สารคดี
2. EFP (Electronic Field Product) เป็นการถ่ายทำ ที่ใช้กล้องมากกว่า 1 ตัว ต่อสายเคเบิ้ล จาก
กล้องไปสู่เครื่องผสมสัญญาณ (Mixer) เพอทำการเลือกภาพ ให้ได้ภาพที่หลากหลาย ได้อย่างต่อเนื่อง เหมาะ
ื่
กับงานประเภท สนทนา สาธิต หรือภิปราย
3. Mobile Unit เป็นการถายทำที่มีลักษณะคล้ายกับ EFP และการถ่ายทำในสตูดิโอ โดยอุกรณ์การ
่
ควบคุม จะติดตั้งอยู่ในรถที่เรียก OB (Outsid Broadcasting) ส่วนใหญ่จะใช้ในงานที่มีการถ่ายทอดสดต่างๆ
กระบวนการถ่าย ทั้ง ในสตูดิโอ และนอกสตูดิโอ จะคล้ายคลึงกัน ในกรณี ที่เป็นรายการ ที่มีการเตรียม
การณ์ถ่ายทำ
- เตรียมและตรวจเช็คอุปกรณ์
- จัดเตรียมฉากและพื้นที่ที่จะใช้
- จัดเตรียมแสง และเสียง
- จัดวางตำแหน่งกล้อง
- ซักซ้อมทีมงานทุกฝ่าย
- ซ้อมการแสดง
- ถ่ายทำจริง ตามที่ได้ทำการซักซ้อมกับนักแสดงไว้แล้ว
มุมกล้องและขนาดภาพในรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
ื่
อย่างที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ภาพถือว่าเป็นสิ่งสำคัญของรายการโทรทัศน์เพอการศึกษา ผู้เขียนจึงต้อง
มีความรู้ของ “ขนาดภาพและมุมกล้อง” ต่างๆ เขียนกำกับลงไปในบทของรายการ เพื่อให้ทีมงานทุกทีมได้
85