Page 3 - E - Book ว 23101 ชุดที่ 3 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
P. 3
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์โดยใช้กระบวนการสืบเสาะความรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชุดที่ 3 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ชุดที่ 3 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ค าชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน
สาระส าคัญ
หลักการของพันธุวิศวกรรม คือ การตัดต่อยีนโดยการตัดดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งแล้ว 2. จงกาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
น าไปต่อเชื่อมกับดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตอีกหนึ่งชนิด เกิดเป็นดีเอ็นเอลูกผสมที่มีคุณสมบัติตรงตาม 1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับจีเอ็มโอ (GMOs)
ต้องการเมื่อน าดีเอ็นเอสายผสมเข้าสู่เซลล์ผู้รับ จะท าให้ได้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม หรือจีเอ็มโอ หมายเลข 1. สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมโดยใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรม 2. การที่ยีน
(GMO) การโคลนในสัตว์ คือ การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาโดยใช้แหล่งของสารพันธุกรรมจากเซลล์
ื่
ร่างกายไปใส่แทนที่ในเซลล์ไข่ที่ปราศจากนิวเคลียส ท าให้ได้สัตว์ตัวใหม่ที่มีลักษณะทางพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิตหนึ่งถ่ายทอดให้กับสิ่งมีชีวิตอน โดยมีพาหะเป็นเครื่องน าพา ซึ่งเกิดขึ้นเองตาม
เหมือนกับสัตว์ที่เป็นเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ การโคลนในพืช คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดย ธรรมชาติ 3. พืชและสัตว์ที่ได้รับการปรับปรุงคุณสมบัติให้ดีกว่าเดิม เป็นผลมาจากการตัดแต่ง
น าเอาเนื้อเยื่อของพืชส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญมาเพาะเลี้ยงในอาหารสงเคราะหที่เหมาะสมในสภาพ ยีน
์
ปลอดเชื้อ จริยธรรมกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพันธุกรรม ระบบพัฒนาองค์ความรูและการประ
ยุกตใชองคความรูทาง พันธุกรรมให้สมบูรณ เกิดจากมีตัวป้อน (Input) เขาสู่กระบวนการ ก. เฉพาะ 1 ข. เฉพาะ 3
(Process) ท าใหเกิดผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ (Outcome) ขึ้น ตัวปอนทางพันธุกรรม คือ ค. 1 และ 3 ง. 1 , 2 และ 3
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับพันธุกรรม ไดแกขอเท็จจริง ทฤษฎีกฎ หลักการ รวมทั้งเทคนิคตาง ๆ ที่จะ
น าเขาสูกระบวนการที่เปนวิธีการ ทางวิทยาศาสตร (Scientific method) ซึ่งมีล าดับขั้นตอนที่ 2. สัตว์ในข้อใดนิยมน ามาปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีการถ่ายฝากตัวอ่อน
ประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ตามล าดับ คือ ก าหนดปญหา ตั้งสมมติฐาน ทดลอง วิเคราะหสรุปผล ก. เป็ด ห่าน ข. โค กระบือ
และการน าไปใช จนท าใหเกิดผลผลิตหรือ ผลลัพธ ในสวนของกระบวนการหากน าจริยธรรมซึ่งได ค. สุกร สุนัข ง. ปลาสวาย ปลาตะเพียน
จากหลักพุทธธรรมมาใช จะท าใหเกิด ผลผลิตหรือผลลัพธเปนความรูที่สมบูรณ หรือเปนการประ
ยุกตใชที่สอดคลองกับบริบทตางๆ ไดแก มนุษย สังคม และสิ่งแวดลอมกอใหเกิดระบบความสัมพันธ 3. การผสมเทียมจะสามารถท าได้กับสิ่งมีชีวิตที่มีการปฏิสนธิแบบใด
ที่เอื้ออ านวยประโยชนเกื้อกูล แกกัน น าไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนไดในที่สุด ก. ภายในมดลูก ข. ภายนอกมดลูก
ค. ภายในและภายนอก ง. ภายในและภายนอกมดลูก
จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. ดอกไม้ชนิดเดียวกัน น าไปปลูกในพื้นที่ต่างๆ กัน ปัจจัยใดมีผลต่อการเจริญเติบโตน้อยที่สุด
1. อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ (K) ก. ความชื้น ข. พันธุกรรม
2. ตระหนักถึงประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์ ค. ภูมิอากาศ ง. แร่ธาตุในดิน
และสิ่งแวดล้อมโดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี 5. ถ้าน าวัวรุ่นลูกมาผสมกันเอง จะได้วัวรุ่นหลานเป็นอย่างไร
ข้อมูลสนับสนุนได้ (K) ก. ได้วัวมีเขาทั้งหมด
4. เขียนแผนภาพจริยธรรมด้านพันธุศาสตร์ได้ (P) ข. ได้วัวไม่มเขาทั้งหมด
ี
5. สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ (A)
ค. ได้วัวมีเขาและไม่มีเขาอย่างละเท่าๆกัน
เวลาที่ใช้ 3 ชั่วโมง ง. ได้วัวมีเขา 3 ส่วน และไม่มีเขา 1 ส่วน