Page 5 - E - Book ว 23101 ชุดที่ 3 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
P. 5
พันธุวิศวกรรม (genetic engineering)
เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) คือ การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิต
หรือระบบของสิ่งมีชีวิต เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ทเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดย
ี่
กระบวนการทนักวิทยาศาสตร์พัฒนาขึ้น เช่น พันธุวิศวกรรม (genetic
ี่
engineering) และ การโคลน (clone) รวมไปถึงเทคโนโลยีชีวภาพด้าน
ี่
กระบวนการผลิต เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ทมีความคุ้มค่าทางการค้า
พันธุวิศวกรรมหรือเรียกอีกอย่างว่า การสร้างดีเอ็นเอสายผสม (DNA
recombination) มีหลักการคือ การตัดดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งทมียีนท ี่
ี่
ี่
ต้องการแล้วน าไปเชื่อมต่อกับดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตทมี
ดีเอ็นเอลูกผสมทมีคุณสมบัติตรงตามต้องการ เรียกว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ี่
ี
หรือ จเอ็มโอ (GMO: genetically modified organism) วิธีการทางพันธุ
ี่
วิศวกรรมนี้ได้น ามาผลิตฮอร์โมนทส าคัญ ซึ่งพบได้น้อยในธรรมชาติ เช่น ฮอร์โมน
ี่
อินซูลินส าหรับใช้รักษาโรคเบาหวาน ทาได้โดย ตัดส่วนยีนอนซูลินทต้องการออก
จากโครโมโซมด้วยเอนไซม์ตัดจาเพาะ (restriction enzyme) แล้วน้ าชิ้นส่วน นอกจากนี้ความรู้ทางด้านพันธุวิศวกรรมยังถูกน ามาใช้ในทางการเกษตร
ของยีนที่ได้มาเชื่อมต่อกับดีเอ็นเอพาหะ เช่น พลาสมิด (plasmid) ซึ่งเป็นดีเอ็นเอ โดยพืชที่นิยมน ามาตัดแต่งยีน ได้แก่ ฝ้ายบีท ซึ่งมีคุณสมบัติต้านทานแมลง เกิด
ี
ี่
ทแยกได้จากแบคทเรียทตัดด้วยเอนไซม์ตัดจ าเพาะชนิดเดียวกับเอนไซม์ทตัดยีน จากการถ่ายยีนจากแบคทเรียบาซิลลัส ทูริงเจนซิส (Bacillus
ี่
ี่
ี
ี
อินซูลิน จากนั้นเชื่อมพลาสมิดให้ติดเข้ากับยีนอินซูลิน ได้เป็นดีเอ็นเอสายผสม thuringiensis) เข้าไปในฝ้าย โปรตีนจากยีนนี้จะเป็นพิษต่อแมลงกลุ่มหนึ่ง จึง
(recombinant DNA) แล้วใส่เข้าไปในเซลล์แบคทเรียทเป็นเซลล์ผู้รับ (host) และ ท าให้ฝ้ายมีความต้านทานต่อแมลงกลุ่มนี้ด้วย นอกจากนี้พืชอีกหลายชนิด เช่น
ี
ี่
น าไปขยายพันธุ์เพิ่มจ านวน ก็จะได้ยีนทผลิตฮอร์โมนอินซูลินจ านวนมากออกมา มะละกอ มะเขือเทศ ข้าวโพด ถั่วเหลือง และมันฝรั่ง ก็นิยมน ามาตัดแต่งยีน
ี่