Page 6 - E - Book ว 23101 ชุดที่ 3 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
P. 6

การโคลน (cloning)                                                 ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (DNA fingerprint) คือ รูปแบบของแถบดีเอ็นเอซึ่งมีลักษณะเฉพาะของ



                                                                                         แต่ละบุคคล น ามาใช้ในการตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอในการพิสูจน์บุคคลผู้ต้องสงสัยในคดีต่าง ๆ

                                                                                         ทางกฎหมาย โดยอาศัยความรู้เกี่ยวกับล าดับเบสซ้ าของดีเอ็นเอ เช่น CACACACA ซึ่งในแต่ละ
                การโคลนสัตว์ เป็นการสร้างสัตว์ตัวใหม่โดยใช้แหล่งของสารพันธุกรรมจาก       บุคคลจะมีจ านวนและต าแหน่ง ของล าดับเบสซ้ าไม่เหมือนกัน การตรวจหาต าแหน่งของดีเอ็น
      เซลล์ร่างกาย ท าให้ได้สัตว์ตัวใหม่ที่มีรูปร่าง หน้าตา และลักษณะทางพันธุกรรม        เอจะใช้ชิ้นดีเอ็นเอตรวจสอบหรือโพรบที่ติดฉลากด้วยสารรังสีและฟิล์มเอกซเรย์ ซึ่งผลปรากฏ

      เหมือนกับสัตว์ที่เป็นเจ้าของเซลล์ที่เป็นแหล่งของสารพันธุกรรม โดยสัตว์ตัวแรกท ี่    ออกมาจะมีลักษณะเป็นแถบเหมือนบาร์โค้ด (bar code) ต่อมาได้มีการพัฒนาการตรวจโดย
                                                                                                                        ี
      ท าการโคลนได้ส าเร็จ คือ แกะดอลลี ซึ่งเกิดจากการน าเอานิวเคลียสที่มีดีเอ็นเอจาก    ใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสหรือพีซอาร์ (PCR: Polymerase Chain Reaction) ควบคู่

      เซลล์เนื้อเยื่อบริเวณเต้านมของแกะตัวต้นแบบ มาใส่ลงในเซลล์ไข่ที่ยังไม่ได้รับการ     กับสารเรืองแสง แล้วอ่านจากเครื่องตรวจอัตโนมัติ ผลที่ได้จะเป็นเส้นกราฟตามต าแหน่งต่าง
                                                                                         ๆ ซึ่งได้ผลแม่นย ามากขึ้น
      ผสมที่ดูดเอานิวเคลียสออกแล้วจากแม่แกะตัวที่ 2 ท าให้เซลล์ไข่แบ่งเซลล์และเจริญ      ความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ

      เป็นตัวอ่อน จากนั้นน าไปถ่ายฝากไว้ในมดลูกของแกะตัวที่ 3 (แม่อุ้มบุญ) เพื่อให ้               ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้ให้ความสนใจการศึกษาในระดับยีนของสิ่งมีชีวิตโดยการท า

      เจริญเติบโตต่อไป                                                                   แผนที่ยีน (gene mapping) หรือแผนที่จีโนม (genome mapping) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ
                การโคลนอีกอย่างหนึ่งคือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ท าได้โดยน าเอาเนื้อเยื่อ  ต าแหน่งของยีนบนโครโมโซม รวมถึงหน้าที่และความส าคัญ เพื่อน าไปวินิจฉัยและรักษาความ

      ของพืชส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญ มาเลี้ยงในขวดเพาะเลี้ยงที่มีวุ้นและอาหารเลี้ยง ซึ่ง  ผิดปกติของยีนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นในอนาคต เช่น การรักษาโรคทาลัสซีเมีย และ

      มีธาตุอาหาร วิตามิน และฮอร์โมนพืชในสภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์ หรือสิ่งมีชีวิตอื่น     โรคอื่น ๆ โดยการเปลี่ยนสลับใส่ยีนปกติเข้าไปท างานแทนยีนที่ผิดปกติ เรียกวิธีการรักษานี้

      ๆ ปนเปื้อน จะได้ต้นอ่อนของพืชที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนพืชต้นแบบทุก             ว่า ยีนบ าบัด (gene therapy) ซึ่งมีการศึกษาค้นคว้ากันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
      ประการ จากนั้นก็น าไปแยกเลี้ยงเพื่อให้เจริญเติบโตต่อไป                             ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
                                                                                                   ประโยชน์และผลกระทบที่เกิดจากเทคโนโลยีชีวภาพ
                                                                                                   ด้านพันธุวิศวกรรม น ามาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช ท าให้สามารถก าหนดคุณสมบัติ

                                                                                         ของพืชได้ตามต้องการ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้
                                                                                              1. ท าให้ได้พันธุ์พืชที่มีคุณสมบัติต้านสารเคมีและต้านทานแมลงบางชนิด จึงช่วยลดการใช้
                                                                                                                    ที่มา ภาพ : Trueplookpanya
                                                                                         สารเคมี และรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งได้พันธุ์พืชที่ต้านทานต่อโรค ผลผลิตจึงมีคุณภาพดี

                                                                                              2. ท าให้ได้พันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงและเจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
                                                                                              3. ท าให้ได้พันธุ์พืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เช่น มีสารอาหารมากขึ้น มีรสชาติดีขึ้น
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11