Page 7 - E - Book ว 22201 ชุดที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
P. 7

แรงลัพธ์ (resultant force)

                                                                                        แรงที่กระท าต่อวัตถุมีทิศทางตรงข้ามกันและขนานกัน แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับผลต่างของแรง
     การรวมแรง คือ การน าแรงย่อยหลายแรงที่กระท าต่อวัตถุเดียวกันมารวมกันแบบเวกเตอร์
     โดยแรงรวมสุดท้ายที่ได้ เรียกว่า แรงลัพธ์ R                                         ย่อย ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ไปในทิศทางแรงที่มีขนาดมากกว่า
     การรวมเวกเตอร์ของแรง
     วิธีการวาดรูปแบบหางต่อหัว คือ หาได้โดยน าหางของแรงที่สองไปต่อหัวลูกศรของแรงแรก
     และน าหางของแรงที่สามไปต่อกบหัวของแรงที่สอง ท าเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนครบ แรงลัพธ์ที่ได้คือ
                               ั
     แรงที่ลากจากหางของแรงแรกไปยังหัวของแรงสุดท้าย



                                                                                        แรงที่กระท าต่อวัตถุในแนวทางที่ไม่ขนานกัน หาเวกเตอร์โดยการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่
                                                                                        ใช้แทนเวกเตอร์ลัพธ์


                                                                                                  แรงที่กระท าต่อวัตถุ แรงสองแรงท ามุมต่อกัน
                                                                                        ใช้ทฤษฎีรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน  เมื่อมีแรง 2 แรงกระท าร่วมกันที่จุดๆ หนึ่งโดยแรงทั้งสองท า
                                                                                        มุม Ø ต่อกัน จะแสดงขนาดและทิศทางของแรง 2 แรงด้วยความยาวด้านทั้งสองด้าน ของรูป
               แรงที่กระท าต่อวัตถุมีทิศทางเดียวกันและขนานกัน แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับผลบวก  สี่เหลี่ยมด้านขนาน ผลรวมของแรงทั้งสองนี้ คือ แรงลัพธ์ นั่นคือ เส้นทแยงมุมของสี่เหลี่ยม
     ของแรงย่อย ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับแรงย่อย                       ด้านขนาน










                                                                                                                 เพียงแค่แสกน QR Code


                                                                                                             แรงและการเคลื่อนที่ ง่ายนิดเดียว
                                                                                                          ที่มา : http://tumcrum3.blogspot.com/2014/01/blog-post_3270.html
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12