Page 177 - เมืองลับแล(ง)
P. 177
ขาดตกบกพร่องต้องขออภัยแก่บรรดานักปราชญ์ราชบัณฑิตทั้งหลาย เท่าที่บรรยายมาตามสติปัญญาที่จะ
อำนวยให้
ึ
จากข้อมูลนี้ทำให้ทราบว่า พระครูสิมพลีคณานุยุต ได้รวบรวมเรียบเรียงผ่านคำบอกเล่าและการศกษา
ิ
เพิ่มเติมจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ที่พระครูฯ เรียกว่า “พงศาวดารภาคพายัพ” นั้น ก็คือ ตำนานสงหนวัตกุมาร
ิ
เป็นเค้าโครงเรื่องหลักในการดำเนินเรื่อง อันเป็นตำนานหนึ่งของทางล้านนา (โยนก) ที่ถูกตีพิมพ์ใน ประชม
ุ
พงศาวดารภาคที่ ๖๑ เผยแพร่เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ อันประกอบด้วย พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน และ
ตำนานสิงหนวัติกุมาร ซึ่งพระครูสิมพลีคณานุยุติ เลือกที่จะใช้ ตำนานสิงหนวัติ มาผูกโยงเรื่องราวกับประวัต ิ
เมืองลับแล และประวัติเมืองลับแลที่พระครูฯ ได้รวบรวมเรียบเรียงคงเกิดขึ้นในช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๐๓
ประวัติเมืองลับแลนี้จึงเป็นต้นเค้าของตำนานเมืองลับแลที่ได้มีการศึกษาเรียบเรียงไว้เก่าแก่ที่สุด
ซึ่งตำนานโยนกนาคนครชยบุรีศรีช้างแส่น หรือ ตำนานสิงหนวติกุมาร ต้นฉบับใบลานเป็นของวัดร่ำ
ี
เปิง ตำบลนางแล อำเภอเมืองเชยงราย จังหวัดเชียงราย จารด้วยอักษรธรรมล้านนา จำนวน ๗๐ ใบลาน โดย
พระภิกษุพิมพิสาร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ และได้ปริวรรตโดย บุญยัง ชุมศรี
อนึ่งการที่ ประวัติเมืองลับแล ฉบับนี้มีอิทธิพลทางความเชื่อและส่งผลกับข้อมูลความรู้เรื่องเมืองลบแล
ั
ี่
นั้นก็ด้วยพระครูสิมพลีคณานุยุต ได้เป็นผู้ประชาสัมพันธ์เรื่องราวอยู่เสมอ ทั้งในงานปริวาสกรรมวัดดอนสัก ทมี
คณะสงฆ์ไดรับฟังแล้ว ยังมีประชาชนโดยทั่วไปได้รับทราบ อย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็นต้นมา
้
๒. วิเคราะห์เนื้อหา
๒.๑ บริบททางประวัติศาสตร์
๒.๑.๑ เรื่องราวใน ตำนานสิงหนวติกุมาร เกิดขึ้นเมื่อมหาศักราชที่ ๑๗ ตรงกับ พ.ศ. ๔๓๐ เขียนใน
ลักษณะตำนานของเชื้อวงศ์ไทยฮ่อ มีข้อสังเกตดังนี้
๑) ใน ประวัติเมืองลับแล ได้กล่าวถึงปู่พญาแก้ววงษ์เมืองเป็นกษัตริย์เมืองโยนกเชียงแสน องคท ๑๓
ี่
์
ี
เมื่อตรวจสอบกับตำนานสิงหนวัติกุมาร มีกษัตริย์องค์ที่ ๑๓ พระนามว่า พระองค์แก้ว ครองเมืองโยนกเชยง
แสนใน พ.ศ. ๘๘๙ - ๙๓๐
้
๒) พระนาม พระเจ้าเรืองธิราช เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๒๑ (พระบิดาของพระเจ้าพนธิราชและพระเจาฟ้า
ฮ่ามกุมาร) ของเมืองโยนกเชียงแสนในประวัติเมืองลับแลไม่มีปรากฏพระนามนี้ในตำนานสิงหนวัติกุมาร
ซึ่งกษัตริย์องค์ที่ ๒๑ ในตำนานสิงหนวัติกุมาร พระนามว่า พระองค์เกลา ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. ๑๐๓๙ - ๑๐๕๔
ส่วนกษัตริย์องค์ที่ ๒๐ มีพระนามว่า พระองค์พัน และองค์ที่ ๒๒ พระนามว่า พระองค์พิง ไม่มีกษัตริย์พระนาม
ี
ว่า พระเจ้าพนธิราช ที่เป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระเจ้าฟ้าฮ้ามราชกุมาร ดังนั้นเมื่อเทยบพระนามกษัตริย์
ในตำนานสิงหนวัติกุมารในลำดับที่ ๒๐ - ๒๒ ไม่มีพระนามใดตรงกันกับ ประวัติเมืองลับแล ฉบับนี้เลย
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๒๗