Page 185 - เมืองลับแล(ง)
P. 185
๒.๒.๒๒ แม่น้ำริด
แม่น้ำริด อยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองลับแล (โปรดดู เรื่องที่ ๑๘ ความวิวัฒน์ของเมืองลับแล)
เป็นลำน้ำสายสำคัญมีต้นกำเนิดจากเทือกเขาพลึง
๒.๒.๒๓ บ้านนานกกก ด่านนาขาม ไฮ่ฮ้า แม่เฉย
ิ
่
ึ
หมู่บ้านเหลานี้ตั้งอยู่ทางทศตะวันออกของแม่น้ำริด มีการตั้งบ้านเรือนอยู่หนาแน่นขึ้น จงเรียกกันว่า
ลับแลน้อย (โปรดดู เรื่องที่ ๑๘ ความวิวัฒน์ของเมืองลบแล) กลุ่มหมู่บ้านเหลานี้มีศาลปู่พญาแก้วเป็นอารักษ์
่
ั
ประจำชุมชน และมีพิธีเลี้ยงพลีในวันพญาวัน (วันสงกรานต์) เป็นประจำทุกปี
๒.๒.๒๔ ทุ่งม่าน
ั
ุ่
ทุ่งม่าน ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลบแล พระยาพิศาลคีรี (ทับ สุขขะเนน) ได้ย้ายที่ทำการเมืองจากเมืองทง
ยั้งมาตั้งที่ม่อนจำศีล ซึ่งเป็นเนินเขาเตี้ย ๆ (โปรดดู เรื่องที่ ๑๘ ความวิวัฒน์ของเมืองลับแล)
๒.๒.๒๕ ปางอ้อ
ปางอ้อ อยู่เหนือเขาพลึง เป็นพื้นที่ตั้งค่ายของเงี้ยว เมืองแพร่ ใน พ.ศ. ๒๔๔๖ (โปรดดู เรื่องที่ ๑๘
ความวิวัฒน์ของเมืองลับแล)
๒.๒.๒๖ ฝายสมเด็จเจ้า
้
ฝายสมเด็จพระเจ้า เป็นฝายน้ำที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจาอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ พระราชทาน
ชื่อไว้ (โปรดดู เรื่องที่ ๒๐ ในรัชกาลที่ ๕)
๒.๒.๒๗ ฝายต่าง ๆ
พระศรีพนมมาศ นายอำเภอลับแล ได้วางรากฐานการประกอบอาชีพให้ราษฎร สร้างเหมืองฝายขึ้นทั่ว
เมืองลับแล มี ฝายหลวง ฝายสมเด็จเจ้า (ฝายกู้) ฝายหิน ฝายนาเด่นอ้าย ฝายวังหัวดอย ฝายหนองแม่อินทร์
ี่
เป็นต้น (โปรดดู เรื่องท ๒๑ บุพพการีของชาวเมืองลับแล)
๒.๒.๒๘ ม่อนสามินทร์
ม่อนสามินทร์ (อาจเพี้ยนมาจากคำว่า สยามมินทร์) หรือ ม่อนจุงจา เป็นสถานที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ
ลับแลในปัจจุบัน (โปรดดู เรื่องที่ ๒๑ บุพพการีของชาวเมืองลับแล)
๒.๒.๒๙ อนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ
อนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ ตั้งอยู่เหนือที่ว่าการอำเภอ ตรงหน้าถนนสามแยก ตลาดลับแล ประดษฐานเมื่อวัน
ิ
พฤหัสบดีที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ (โปรดดู เรื่องที่ ๒๑ บุพพการีของชาวเมืองลับแล)
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๓๕