Page 189 - เมืองลับแล(ง)
P. 189

“อนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพพระครูธรรมเนตรโศภณ” มีเนื้อหาในหนังสือดังนี้

               ตอนที่ ๑ ตำนานเมืองลับแล

                       ประกอบด้วย ๓ เรื่อง คือ


                       เรื่องที่ ๑ กำเนิดเมืองลับแล
               เมื่อประมาณพุทธศักราช ๑๕๐๐ เป็นสมัยแห่งอาณาจักรโยนกนคร ซึ่งมี “นครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรี

               ศรีเชียงแสน” เป็นราชธานี (คืออำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายในปัจจุบัน) เกิดสงครามรบพุ่งกันเนืองๆ และ

               มีโรคระบาดเกิดขึ้น จึงมีราษฎรประมาณ ๒๐ คน ครอบครัวเกิดความเบื่อหน่าย ประสงค์จะหาทำเลที่ทำกิน
                                                                                                     ิ
                                                                                                       ่
               แห่งใหม่ จึงได้ยกหนานคำลือกับหนานคำแสน เป็นหัวหน้าอพยพครอบครัวลูกเด็กเล็กแดง ทรัพย์สมบัตเทาท ี่
               พอจะนำไปได้บรรทุกเกวียนมุ่งหน้าเดินล่องใต้โดยได้รับคำบอกเล่าจากวิญญาณ “เจ้าปู่พญาแก้ววงษ์เมือง”

                              ์
               (อดีตกษัตริย์องคที่ ๑๓ แห่งโยนกนคร) ว่ามีแหล่งทำมาหากินอันอุดมสมบูรณ์ มีน้ำตกและธารน้ำไหลตลอด
                                                                                                       ้
               ฤดูกาล ดินฟ้าอากาศร่มเย็นไม่หนาวไม่ร้อน ชาวบ้านจึงอัญเชิญวิญญาณของเจ้าปู่พญาแก้ววงษ์เมืองไปดวย
               เพื่อเสาะหาแหล่งทำกินตามในความฝันนั้น การเดินทางไดใช้เวลาอันยาวนานผ่านจังหวัดลำปาง จังหวัดแพร่
                                                                ้
               ยังไม่พบแหล่งทำกินตามที่กล่าวไว้จนในที่สุดก็บรรลุถึงหุบเขาลบแล ก็เห็นว่ามีภูมิประเทศถูกต้องตามความฝน
                                                                   ั
                                                                                                        ั
               ทุกประการ คือ ประกอบด้วย น้ำตกน้ำไหล ดินฟ้าอากาศชุ่มชื้น มีภูเขาเตี้ยอุดมไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด
               แสงแดดส่องถึงพื้นดิน เพียงครึ่งวันจึงตกลงใจปักหลักสร้างบ้านเมืองครั้งแรกขึ้นที่บ้านเชียงแสน ช้าง ม้า วัว

               ควาย ที่นำมาด้วยก็ให้อยู่ที่บ้านคอกควาย บ้านคอกช้าง (ยังมีชื่ออยู่ที่บ้านฝายหลวงจนถึงปัจจุบันนี้)  เมื่อตั้ง
                                        ู้
                                                                                    ้
                                                                                              ี
               บ้านเรือนได้แล้วก็มีการเลือกผปกครองกันขึ้น ที่ประชุมมีมติยกให้หนานคำลือเป็นเจาแคว้น (เทยบเทากำนัน)
                                                                                                   ่
                                                     ู้
                                      ้
               และยกหนานคำแสนเป็นเจาหลัก (เทียบเท่าผใหญ่บ้าน) เจ้าหนานทั้งสองไดปกครองลูกบ้านดวยความร่มเย็น
                                                                                             ้
                                                                              ้
               เป็นสุข แบ่งปันพื้นที่ทำมาหากิน ทำสวน ทำนา เลี้ยงสัตว์ เจริญก้าวหน้ามาได้ ๗ ปี เจ้าแคว้นก็ปรารภว่า

                                                                                           ่
                                  “พวกเราได้จากบ้านเมืองมา ๗ ปี แล้ว บัดนี้เราก็ได้ลงหลักปักรากมันคง
                           แล้ว สมควรกลับไปเยี่ยมบ้านเกิดเมืองนอน นำข่าวความสำเร็จนี้ไปรายงานให้ญาต ิ
                           พี่น้องทราบเถิด และเนื่องจากเมืองลับแลยังขาดพระภิกษุสงฆ์จะเทศนาอบรมสั่ง
                           สอนประชาชน และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาก็ยังขัดข้อง ทั้งพระธรรมและ

                           พระไตรปิฎกก็ยังไม่มี สมควรไปนิมนต์พระมาอยู่สัก ๖ รูป”


                       ที่ประชุมจึงตกลงกันว่า จะไปเยี่ยมบ้านเกิดเมืองเดิม โดยมอบหมายให้หนานคำลือเป็นหัวหน้านำ
               ราษฎร ๑๐ กว่าคน บรรทุกของกินของใช้ของแปลก ๆ ต่างนำไปฝากญาติพี่น้องของตน ได้ออกเดินทางรอน

               แรมจากเมืองลับแลมุ่งสู่โยนกนครในครานั้น




                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๓๙
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194