Page 198 - เมืองลับแล(ง)
P. 198
คำปรารถจาก พ่อครูมาลา คำจันทร์
“หลงลับแล ลืมลับแลง”
ั
ไปลับแลง (อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์) ตั้งแต่ตอนสาย วันที่ ๒๖ เพิ่งกลับมาถึงบ้านเมื่อวานหัวค่ำ ไปช่วยจด
้
ระเบียบเอกสารโบราณที่วัดทองลับแล เอกสารมีมากมายแตอยู่ในสภาพชำรุดเนื่องจากกาลเวลาและการเก็บ
่
รักษา ใช้เวลามากแต่ได้ผลงานน้อยเนื่องจากต้องใช้ความระมัดระวังกันอย่างสูง คัมภีร์ใบลานราว ๒๐% อยู่ใน
สภาพที่แตะต้องไม่ได้ ขืนแตะอาจยุ่ยคามือ ที่น่าพอใจมากคือสมาชิกของ ศอบ. ค้นพบเอกสารลายมือท่านพระ
ครูธรรมเนตรโศภน อดีตเจ้าอาวาสและอดีตเจาคณะอำเภอ เป็นตำนานพระเจายอดคำทิพย์ พระพุทธรูปองค ์
้
้
สำคัญของวัด เนื้อหาคร่าวๆ กล่าวถึงประวัติของพระพุทธรูปองค์นี้ที่เกี่ยวกับความเป็นมาของอำเภอลับแล
ั
ุ
เหตุการณ์สำคัญกล่าวถึงกรณีเจ้ายี่กุมกามจากเมืองเชียงรายขอความช่วยเหลือจากพระเจ้าไสลือไทแห่งสโขทย
บุกเชียงใหม่แต่ไม่สำเร็จ เจ้ายี่กุมกามจึงยกผู้คนเมืองเชียงรายติดตามกองทัพสุโขทัยลงมาตั้งอยู่ที่ลับแล อีก
เหตุการณ์หนึ่งทสำคัญคอพระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่ยกกำลังลงมารุกรับขับไล่กองทัพอยุธยาสมัยพระเจา
ื
ี่
้
บรมไตรโลกนาถ มาพักพลที่ลับแล วิญญาณเจ้ายี่กุมกาม เอกสารลายมือทานพระครูธรรมเนตรโสภณเรียกว่า
่
เจ้ายี่ความแก้ววงเมืองมาเข้าฝัน ขอร้องพระเจ้าติโลกราชอย่าทำร้ายชาวเมืองและบ้านเมือง
ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ฉบับนี้น่าจะทรงความสำคัญอย่างยิ่งต่อประวัติความเป็นมาของลับแล
สภาพเอกสารเป็นสมุดฝรั่ง อักษรไทย เขียนด้วยดินสอลายมือทานพระครูเอง ท่านคัดลอกจากฉบับเดมทเป็น
่
ี่
ิ
ใบลาน สภาพใกล้ผุพัง ตามคำนำที่ท่านพระครูเขียนไว้ ท่านพบฉบับใบลานเมื่อคราวบูรณะแท่นพระเจ้ายอด
้
ึ
คำทิพย์เมื่อราวปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ใบลานซุกอยู่ในโพรงใตฐานพระ ท่านเห็นว่าเป็นเอกสารทรงความสำคญจงเอา
ั
มาถ่ายจากอักษรธรรมล้านนาเป็นอักษรไทยใส่ลงสมุดปัจจุบัน ท่านปรารภอยากให้เอาพิมพ์ลงในหนังสอ
ื
่
ประวัติของท่านเมื่อทานสิ้นชีวิต แต่ไม่ทราบว่าในหนังสอประวัติของทานจะมีการพิมพ์เรื่องนี้ลงหรือไม่เพราะ
่
ื
ไม่มีโอกาสสืบหาเนื่องจากเวลาที่พวกเราอยู่ลับแลงเพียงสามสี่วัน ปัจจุบันตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ฉบับ
ลายมือท่านพระครูอยู่ในการดูแลรักษาของชุมชน พวกเราไม่เอาติดตัวมาเพราะผิดหลักการของเราว่าจะไม่เอา
อะไรติดตัวออกจากวัดมาเลย นอกจากเมล็ดทรายติดรองเท้า
เจริญ มาลาโรจน์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศลป์ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
ิ
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๔๘