Page 201 - เมืองลับแล(ง)
P. 201
เนื้อความใน “ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์” ฉบับที่ ๑
ตำนานฉบับเก๊า
ั
พระเจ้ายอดฅำติ๊บ วัดลบแลง (หลวง)
เขียนที่ วัดท้องลับแล
่
ธัมม์เมืองเหนือผูกนี้ได้มาแตปี พ.ศ. ๒๕๐๗ คราวที่นายไทย นางทอง แก้วพูลปกรณ์ไดมาบูรณะแทน
่
้
พระเจ้าในพระอุโบสถของวัดท้องลับแล ความว่า ธัมม์ผูกนี้ห่อไว้ด้วยผ้าจีวรเก่า ๆ วางไว้ใต้ฐานของพระพุทธรูป
ประธานในพระอุโบสถ สภาพข้อนข้างผุยุ่ยแตกหักแต่ยังพออ่านความได้ ลงอ่านดูเห็นว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับชื่อ
และประวัติของพระพุทธรูปองค์ประธานในอุโบสถแต่ออกจะเป็นแนวอภินิหารเกินจริงไปเสียหน่อย แต่ก็พอจะ
สืบความได้ว่าเกี่ยวข้องกับตำนานที่คนโบราณของบ้านลับแลงมักจะศัทธากราบไหว้นั่นก็คือเจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร
่
ี
ื่
็
ั
ั
ี่
แต่ในธัมม์ผูกนี้กลบเปนชอทเขยนเพิ่มออกไป นัยว่าจะเกี่ยวข้องกับกษัตริย์แตครั้งอดต ซึ่งตวอาตมาภาพก็คง
ี
ต้องทำการศึกษากันต่อไป เหตุด้วยว่าไม่ใคร่จะมีความรู้ในเรื่องดังกล่าวมากนัก ดังนั้น จึงได้ให้ความคิดเห็น
จากพระอุปัชฌาย์ของอาตมาคอ พระครูธรรมฐี วัดป่าเจดีครีวิหาร ซึ่งท่านได้ให้ความคดเห็นว่าคงเป็นเรื่อเก่า
ิ
ี
ื
แต่โบราณที่บอกข้อมูลยาก แต่ขอลองอ่านดูก่อนครบกำหนดหนึ่งเดือน อาตมาภาพจึงได้ไปขอรับคืน ท่านพระ
ครูเล่าว่า เป็นเรื่องราวที่น่าอัจศจรรย์ยิ่งนักสมควรได้คัดลอกและรักษาไว้ อาตมาภาพจึงคิดที่จะคัดลอกและ
่
แปลธัมม์พื้นเมืองผูกนี้ไว้ แต่ก็ลืมด้วยภาระงานที่มีมากขึ้น จนกระทั่งได้มีโอกาสแปลจนเสร็จ ในวันขึ้น ๘ คำ
เหนือ ๑๑ เดือน ๓ ไทย พ.ศ. ๒๕๒๖ ด้วยสติปัญญาอันน้อยจึงอาจต้องขออภัยหากมีผิดหรือตกหล่นไปบ้าง
ด้วยเฉพาะสังขารกับทั้งสขภาพที่ไม่เอื้ออำนวย ด้วยมีแนวคิดว่าหากเนื้อความในธัมม์พื้นเมืองผูกนี้ มีความจริง
ุ
ก็จะเป็นการดีต่อบ้านลับแลงที่จะได้สืบรู้ความเป็นมาของแหล่งที่อยู่ตน แต่หากเนื้อความในธัมม์ ตำนาน
ฉบับเก๊า พระเจ้ายอดคำติ๊บ วัดลับแลงหลวงผูกนี้ เป็นเรื่องเหลวไหลก็จงสดับไว้ในระดับหูหมายเอาเป็นพุทธ
นิยายเพื่อขัดเกลาอบายกิเลสในใจเสียเถิด และหากตัวอาตมาภาพได้ล่วงลับดับสังขารไปแล้ว หากศิษยานุศษย์
ิ
คนใดในใจใคร่จัดพิมพ์หนังสือประวัตของอาตมาภาพในงานศพก็ขอให้พิมพ์ธัมม์ผูกนี้ได้ด้วยจักเป็นประโยชน์
ิ
ยิ่ง
พระครูธรรมเนตรโสภณ
(บุญธรรม มาอาจ)
เจ้าคณะอำเภอลับแล
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๕๑