Page 196 - เมืองลับแล(ง)
P. 196
บทที่ ๓ ตำนานเมืองลับแล
ใน ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์
ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ เป็นเอกสารใหม่ที่ถูกพบเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๑ จำนวน ๒ ฉบับ มีเนื้อความ
ต่างกันเพียงเล็กน้อย ถูกเขียนขึ้นด้วยดินสอ ใช้สำนวนอย่างไทเหนือ (ยวน) เขียนขึ้นบนกระดาษสมุดฝรั่ง
(สมุดเขียนอย่างปัจจุบัน) ที่สำคัญคือมีการสอดแทรกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ไว้อย่างน่าสนใจหลายเรื่อง
ทั้งนี้จึงได้ยกตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ มาอธิบายเพื่อแสดงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ดังนี้
่
ต ำนำนพระเจ้ำยอดค ำทิพย์ ฉบับท ๑
ี
สืบเนื่องจาก พิพิธภัณฑ์เรือนลับแลงโบราณ เลอ ลับแลง Le lablang Museum องค์การบริหารสวน
่
ตำบลฝายหลวง และ Spark U Lanna (สสส.) ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมอันเกี่ยวเนื่องกับชมชนฝาย
ุ
หลวงและเมืองลับแลง คือ “ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง สรงน้ำเจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร” ในระหว่างวันที่ ๒๖ - ๒๘
เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
ซึ่งในวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ศูนย์ศึกษาเอกสารโบราณ (ศอบ.) มูลนิธิสืบสานล้านนา นำโดย
พ่อครูมาลา คำจันทร์ หรือ นายเจริญ มาลาโรจน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
ได้เดินทางมาจัดเวทีเสวนาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมเมืองลับแลง รวมถึงการคัดธรรมหรือการจัดเก็บคัมภีร์
้
ื
่
ึ
ใบลาน ของวัดท้องลับแล ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้เป็นระเบียบง่ายตอการสบคน จง
ได้มีการค้นพบเอกสารโบราณฉบับหนึ่ง ปรากฏชื่อว่า “ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์” ในกระดาษสมุด ขนาด
F4 จำนวน ๑๓ หน้า เป็นข้อความที่บันทึกและปริวรรตจากคมภีร์ใบลาน มีเนื้อความกล่าวถึงที่มาของเมืองลบ
ั
ั
แลรวมไปถึงประวัติของพระเจ้ายอดคำทิพย์ พระพุทธรูปประธานในอุโบสถ วัดท้องลับแล อำเภอลับแล
จังหวัดอุตรดิตถ์
เพื่อเป็นการศึกษา “ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์” ให้เกิดประโยชน์ทางคณะทำงานศึกษา
ประวัติศาสตร์เมืองลับแล(ง) จงได้มีการจัดพิมพ์ตำนานดังกล่าว และได้มีการจัดงานเสวนาวิชาการเรื่อง
ึ
“เมืองศรีพนมมาศกับเมืองลับแลไม่ใช่เมืองเดียวกัน” ในวันที่ ๑๙ – ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ ห้อง
ี่
ประชุมโรงเรียนเทศบาลศรีพนมมาศพิทยากร อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อถ่ายทอดแลกเปลยนความรู้
เกี่ยวกับเมืองลับแลให้เป็นที่ประจักษ์ โดยมีนายเสฐียรพงศ์ มากศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นประธาน
ซึ่งได้รับความสนใจจากพระสงฆ์ ครู อาจารย์ นักเรียน นักวิชาการ และประชาชนผู้สนใจ
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๔๖