Page 254 - เมืองลับแล(ง)
P. 254

46
                                                                                                       ่
                                           ้
               ในปีนี้ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ไดบอกว่า “ปลีกาบสะง้า สกราช ๘๓๖ ตัว หมื่นด้งผู้กินเชียงชื่นตาย”    สวน
               ในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ บอกว่า “ศักราช ๘๓๕ มะเส็งศก หมื่นนครได้ลอกเอาทอง
               พระเจ้า ลงมาหุ้มดาบ” คือตรงกับ พ.ศ. ๒๐๑๖ ก่อนที่หมื่นด้งนครจะเสียชีวิต การที่พระราชพงศาวดารฯ ได ้

               กล่าวถึงความไม่เป็นมงคลที่หมื่นด้งนครได้กระทำบาปโดยการลอกเอาทองหุ้มพระพุทธรูปมาหุ้มดาบของตน

               แต่ก็ไม่ได้กล่าวถึงชะตากรรมของหมื่นด้งนครหลังจากนี้ แต่รายละเอียดการสิ้นชีพของหมื่นด้งนครถูกเล่าไว้
               โดยละเอียดใน “ยวนพ่าย โคลงดั้น” ในลักษณะที่ต่างออกไป กล่าวคือ เป็นการชื่นชมหมื่นด้งนครว่าเป็นแม่

               ทัพผู้มีความจงรักภักดี แต่ต้องมาตายด้วยพระสติอันวิปลาสของพระญาติโลกราชที่ทรงหวาดระแวงหมื่นด้ง

               นครว่าฉลาดและมีบารมีมากกว่าพระองค์ในหมู่เจ้าเมือง อีกทั้งยังถูกยุยงโดยเจ้าเมืองน่านและแพร่ให้ตัดสิน
               โทษประหารชีวิตแก่หมื่นด้งนคร ด้วยความอยุติธรรมนี้เป็นเหตุให้เมียของหมื่นด้งนคร (นางเมือง) และไพร่

                                     ี
                                                                                 47
               พลเมืองยกเมืองเชลียง (เชยงชื่น) เข้าสวามิภักดิ์ต่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ
                                                                                                 ั
                                                                                                ู้
                                             ิ
                                                                                            ้
                       ใน ตำนานพระเจ้ายอดคำทพย์ ได้บอกว่า “ด้วยเหตุว่าพระญาติโลกะราชาฟ้าฮ่าม ตองตสงฆะม่านธุ
                                                                ั
               เจ้า  แลฟังคำล้อนางแม่มุกหอน้อย ชายา  แลตกขุมอบายตวกัมม์แตปังหลัง หนุนส่งจึ่งปลงโทษทาวขุนเรืองธิ
                                                                                               ้
                                                                        ่
                                                                                                        ุ
               ราชาโอรส นางเมืองเชียงชื่นอกสันขวัญหนี โขดเคียดหรทัยใจขึงด้วยผัวมันตายวำหน้า” เป็นการกล่าวถึงเหตท ี่
               หมื่นด้งนครถูกเรียกตัวไปประหารชีวิตเพราะพระญาตโลกราชเชื่อฟังคำยุยงของ “ม่านธุเจ้า” กับ “นางแม่หอ
                                                            ิ
                                                                                ู้
               มุกน้อยชายา” ซึ่งได้ปลงโทษ “ท้าวขุนเรืองธิราชาโอรส” คือ ท้าวศรีบุญเรือง ผเป็นพระราชโอรสของพระญาต ิ
               โลกราชไปก่อนหน้านั้นแล้ว เมื่อนางเมืองเชียงชื่น (อั้วป้านคำ) ทราบความก็เสียใจและโกรธแค้นทหมื่นดงนคร
                                                                                                     ้
                                                                                               ี่
               ถูกประหาร

               เนื้อความที่ ๒๖


                 รอดเถิงปีเปิกไก จุลศักราชนับตัวได้ ๙๒๐ ตัว พุทธศาสนาได้ ๒๑๐๑ ปีข้าว เวียงพิงคณทีเชียงใหม่ ตกที่
                              ้
                 ข้องหมองปี ผีก้ำเวียงหนีละ พระญาม่านทะสะทิสาบุเรงนองยกเสนาเศิกเข้าล้อมเวียง พระญาเมตกสู้บ่
                                                                                                      ุ
                 ได้เวียงแตกพ่าย


                                                                                                      ี
                       เป็นการกล่าวถึง เมื่อ (จ.ศ. ๙๒๐) พ.ศ. ๒๑๐๑ ที่พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์ (พม่า) เมืองหงสาวด ยก
               ทัพมาเพื่อโจมตีเมืองเชียงใหม่ ใน ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ออกชื่อว่า “เจ้าฟ้าหงสา /เจ้ามังทราฟ้าหงสา”
               และ ออกชื่อกษัตริย์เชียงใหม่ว่า “พระเปนเจ้าแม่กุ”   ไม่มีการออกชื่อว่า “บุเรงนอง” และ “พระญาเมตกุ”
                                                           48





                       46  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙, หน้า ๗๙.
                       47  ตรงใจ  หุตางกูร, ๒๕๖๑, หน้า ๖๒.
                       48  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙, หน้า ๙๓.

                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๐๔
   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259