Page 30 - เมืองลับแล(ง)
P. 30
รูปแบบศิลปกรรมวิหารวัดดอนสัก
ิ์
ิ
นายธีรศกด ธนูศลป์ นกโบราณคดีชำนาญการกองโบราณคดี กรมศลปากร ไดลงพนที่สำรวจ
ั
ิ
้
ั
ื้
โบราณสถานและโบราณวัตถุเมืองลบแล ระหว่างวันที่ ๘ - ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ให้ความเห็น
ั
ว่า “ภายในวิหารวัดดอนสัก มีกู่พระเจ้า ซึ่งเป็นกู่ทรงปราสาท ในระบบหลังคาลาดสลับหลังคา
่
ซ้อนชั้น มีงานปูนปั้นประดับอยางวิจิตร ลวดลายรสนิยมจีนที่แปลงเป็นลวดลายแบบล้านนา
สันเหลี่ยมตอนบนประดับลายกาบบน สันเหลี่ยมตอนล่างประดับลายกาบล่าง การประดับ
ลวดลายปูนปั้นสามารถกำหนดอายุเทียบเคียงได้ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๑”
่
ุ
(ซึ่งศลปกรรมล้านนาพทธศตวรรษที่ ๒๑ คือศลปกรรมร่วมยุคชวงปลายรัชสมัยของพระเจ้าต ิ
ิ
ิ
่
ึ่
ื
ั
ี้
โลกราช จากหลักฐานเชงประจักษ์นอาจเป็นสิงหนงที่ยนยนว่า ในชวงเวลาดังกล่าวพนที่นคงตกอย ู่
ื้
ี้
่
ิ
ภายใต้พระราชอำนาจของพระเจ้าติโลกราชแล้ว)
้
่
ื่
้
อีกทั้งโครงสรางเครองบน รบชนหลังคายงเป็นโครงสรางระบบม้าตางไหม ซึ่งเป็นการวาง
ั
ั
ั้
โครงสร้างชั้นหลังคาแบบล้านนา
ื
เสาวิหารเป็นเสาแปดเหลี่ยม สอด้วยปูนขาว ส่วนบัวหัวเสาเป็นลักษณะบัวคลุ่มหรอบัวโถ อัน
เป็นรูปแบบที่นิยมในช่วงสมัยอยุธยาตอนกลาง ซึ่งบัวหัวเสาน่าจะมีการสร้างเพิ่มเติมในช่วงสมัยอยุธยา
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๑๘