Page 25 - เมืองลับแล(ง)
P. 25
้
ี้
แต่เรื่องนไม่ปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์ว่ามีการใชชื่อเมืองลับแลขึ้นในคราวน เรื่องนี้จึงปรากฏ
ี้
ั้
ั
ี้
ในวรรณกรรมท้องถิ่นเท่านน และในตำนานเดียวกันนยงกล่าวถึงหนานคำลือ หนานคำแสน ได้ถวาย
บุตร (ลูกสาว) เป็นข้าบาทบริจาริกากับพระญาติโลกะราชาฟาฮ่ามด้วย ชอว่า “นางสุคันธา กับ นางศร ี
ี
ื่
้
ี
ิ
พมพา” แตเมื่อพระองค์เสด็จกลับเมืองเชยงใหม่ ข้าบาทบรจารกาทั้ง ๒ ท่านนมิได้ตามเสด็จกลับ
ิ
ี้
่
ิ
่
ี
ู่
ั
เชยงใหม่แตยงอยที่เมืองลับแล อาจเป็นไปไดที่จะเป็นตนเค้าแห่งตำนานมุขปาฐะเมืองลบแลเป็นเมือง
้
้
ั
ิ
ิ
ั
ึ่
ี
้
ื่
แม่หม้ายอีกตอนหนง [เรองของเจ้าฟาฮ่ามกุมารได้สตรชาวลับแลเป็นบาทบรจารกายงมีคล้ายกันใน
นิทานเจ้าฟ้าฮ่าม เรยกชื่อว่า ‘นางสุมาลีกับนางสุมาลา’]
ี
เมื่อ พ.ศ. ๒๐๐๐ ใน ตำนานพระแท่นเมืองทุ่งยง [ฉบับสมบูรณ์ ตนฉบับใบลานพบที่วัดพระ
้
ั้
ี
้
่
หลวง เมืองแพร] ได้กล่าวถึง ‘พระญาศรธัมโศกราช ไดเสด็จมาที่เมืองทุ่งยงแล้วทำบุญโดยการสราง
้
ั้
้
ู
ื่
วิหารพระแท่นศลาอาสน พรอมทั้งถวายเครองราชปโภคอุทิศแก่พระพทธเจ้าในภัทรกัปทั้งสิน ตงแต ่
ิ
้
ุ
ั้
์
ุ
พระกกุสันโธพทธเจ้า พระโกนาคมพุทธเจ้า พระกัสสปพุทธเจ้า และพระสมณโคดมพุทธเจ้า เพอให้ถึง
ื่
ี
ิ
ี
ุ
การเป็นพระญามหาจักรพรรดิราชและได้พบกับพระศรอารยไมตรพทธเจ้า’ เป็นไปได้ว่า พระเจ้า
์
ี
ิ
ี้
ั
ศรีธมมโศกราช ในที่นอาจหมายถึง เจ้าพระญาตโลกราช กษัตรยแห่งล้านนาเชยงใหม่ที่ได้ขยาย
ิ
ี้
อิทธิพลมาครอบครองดินแดนบริเวณแห่งน พ้องกับพระนามใน ชินกาลมาลินี ที่ระบุพระนามว่า “พระ
เจ้าสริธรรมจักรพรรดิตลกราชาธิราช” [สิริธมฺมจกฺกวตฺติพิลกราชาธิราชา] อันเป็นการสมมุติพระนาม
ิ
8
ิ
ของพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งแคว้นมคธ ในอินเดีย ผู้ทรงเป็นอัครศาสนปถัมภก (Upholder of
ู
religions) พระพุทธศาสนาในอินเดีย
ใบลานตำนานพระแท่นเมืองทุ่งยั้ง (ฉบับเมืองลับแล สภาพไม่สมบูรณ์) เนื้อความอ่านว่า :
ื
“พุทธศาสนาได้ ๒๐๐๐ ปี ยังมีพระญาอโสกราช มายอบยั้งตั้งทัพอยู่ในเมืองอุปยา คอว่า เมืองทุ่งยั้ง”
และ “พระญาอโสกราชเอาริพลไปสู่สวัรคโลก (สวรรคโลก)”
ื
ส่วนฉบับวัดพระหลวง เมืองแพร่ ไม่พบคำว่า “ตั้งทัพ” และมีข้อแตกต่างคอ “พระญาอโสกราชก็เอาริพลไปเมือง
อะไรโม้ คือ เมืองสังคโลก”
พบเมื่อวันเสาร์ที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ (วันตรุษไทย)
8 ชินกาลมาลินี หรือ ชินกาลมาลีปกรณ์ ประพันธ์โดยพระรัตนปญญาเถระ เมื่อ พ.ศ. ๒๐๖๐ ถือเปน
็
ั
วรรณกรรมร่วมสมัยของล้านนา
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๑๓