Page 20 - เมืองลับแล(ง)
P. 20

การเคลื่อนพลจากล้านนา


                                       จากหน้าประวัติศาสตร์สู่ความทรงจำ



                          ั
                                                                                                   ์
                                                                              ิ
                                                                               ์
                                       ั
                                   ่
                       ในรฐล้านนาชวงรชกาลของเจ้าพระญาแสนเมืองมา กษัตรยองค์ที่ ๗ แห่งราชวงศมังราย
               (ครองราชย พ.ศ. ๑๙๒๘ - ๑๙๔๔) ทรงมีพระราชโอรสองค์ใหญ่พระนาม เจ้ายี่กมกาม (เป็นเจ้าชาย
                                                                                        ุ
                          ์
               องค์ที่ ๒ ด้วยประสูตบรเวณเวียงกุมกาม) และพระราชโอรสองค์รองพระนาม เจ้าสามฝั่งแกน (เป็น
                                     ิ
                                  ิ
               เจ้าชายองค์ที่ ๓ ด้วยประสูติบริเวณพันนาแกน)
                           ี่
                       เจ้ายกุมกาม ประสูตเมื่อ พ.ศ. ๑๙๒๐ เมื่อ พ.ศ. ๑๙๓๒ เจ้ายกุมกาม ขณะพระชนม์ได้ ๑๒
                                         ิ
                                                                               ี่
                                                                                                        ั
                                  ่
                                                                                                ์
                                                                                             ั
               พรรษา ได้รับตำแหนงเจ้าเมืองเชียงราย จึงมีสถานะผู้ปกครองเมืองเอกของล้านนา มีศกดิเป็นพระรช
               ทายาท ในขณะเดียวกันเจ้าพระญาแสนเมืองมาได้มีพระราชโอรสกับพระมเหสีอีกองค์เคยเป็นข้าหลวง
                                                           ิ
               ในพระนางยสุนทราเทวี (พระมารดา) ได้ประสูตพระราชโอรสเมื่อ พ.ศ. ๑๙๓๒ และนาจะเป็นพสาว
                                                                                                      ี่
                                                                                             ่
               ของเจ้าสี่หมื่น เจ้าเมืองพะเยาด้วย เมื่อ พ.ศ. ๑๙๔๔ เจ้าพระญาแสนเมืองมา สวรรคต ทำให้เจ้าสี่หมื่น
                            ้
               เมืองพะเยาพรอมทั้งขุนนางได้สนับสนุน เจ้าสามฝั่งแกน ขึ้นเป็นกษัตริย์ครองเมืองเชียงใหม่ แล้วแต่งตง
                                                                                                         ั้
               พระราชมารดาเป็น มหาเทวีตโลกจุฑาเทวี ทำให้ เจ้าท้าวยกุมกาม พระราชโอรสองค์ใหญ่ เจ้าเมือง
                                                                     ี่
                                           ิ
               เชียงราย ได้สงราชบรรณาการไปยังราชสำนักจีน ฝ่ายจีนไดสนับสนนให้เจ้าท้าวยี่กุมกาม (刀招你 -
                                                                    ้
                           ่
                                                                           ุ
               ตาวเจาหนี) เป็นผู้ปกครองเมืองเชียงราย (八百者乃 - ปาไป่เจอไน) และให้เจ้าพระญาสาม
                                                                                   ่
                          ่
               ฝั่งแกน (刀招散 - ตาวเจาส้าน) เป็นผู้ปกครองเมืองเชียงใหม่ (八百媳妇者 - ปาไป๋ต้า
               เตี้ยน) ทำให้แคว้นล้านนาถูกแบ่งอำนาจอออกเป็น ๒ ส่วน จนเมื่อ พ.ศ. ๑๙๔๘ เอกสารจีน (明實
                                       ื่
                                            ิ
               錄 – หมิงสือลู่ : บันทึกเรองจรงของราชวงศหมิง) ได้บอกว่า เจ้าท้าวยกุมกามส่งราชบรรณาการไป
                                                        ์
                                                                               ี่
               เมืองจีนเป็นครั้งสุดท้าย แล้วเกิดกรณีพพาทระหว่างเชียงใหม่และเชียงรายจากการที่ขบวนการค้าและ
                                                   ิ
                                                  ั
                                                                                  ่
                                                                                                        ุ่
                                                                                                     ี
                   ื่
                                                                           ี
               เครองบรรณาการของเชยงรายส่งไปยงจีนถูกดักปล้น ทำให้ฝ่ายเชยงรายรวมมือกับฝ่ายเมืองเชยงรง
                                      ี
                                                            4
               และหัวเมืองใกล้เคียงยกทัพมารบกับเมืองเชียงใหม่
                                                                                           ่
                            ั้
                                                                                                    ี
                                                                                 ้
                       ขณะนนฝ่ายสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ที่ ๒ แห่งสุโขทัย ไดยกทัพมาชวยฝ่ายเชยงราย
                                                                   ี
               ด้วย จนกระทั่งทัพของฝ่ายสุโขทัยและฝ่ายเชียงรายไดเตรยมเข้าตเมืองเชียงใหม่ตามคำสั่งของฝ่ายจีน
                                                               ้
                                                                          ี
                               ์
               แต่มีพระราชสาสนจากราชสำนักจีนพระราชทานอภัยโทษแก่เชียงใหม่ ฝ่ายเชยงรายกับสุโขทัยที่มุ่งหวัง
                                                                                   ี
                                                                                          ่
                                                                                                 ็
                                                         ี
                                                  ิ
                                       ิ
               จะรบเชยงใหม่ให้ได้และชงราชสมบัตเมืองเชยงใหม่ให้ท้าวยกุมกามปกครอง แตไม่สำเรจถูกฝ่าย
                                                                       ี่
                       ี
                                                                                         ่
               เชียงใหม่ใชกลศกขับไลทัพฝ่ายเชยงรายกับสุโขทัยออกไปได้สำเร็จ เมื่อทัพเจ้าท้าวยีกุมกามมาถึงเมือง
                         ้
                              ึ
                                    ่
                                             ี
               เชียงราย สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช แห่งสุโขทัยได้แนะนำว่าภูมิทำเลของเมืองเชียงรายมีลักษณะ
                                                          ั้
                                                             ้
               ไม่เป็นมงคล ท้าวยกุมกามจึงเชอฟงคำแนะนำนนไดยกไพร่พลเมืองเชียงราย เทครวชาวเมืองเชยงราย
                                                                                                    ี
                                           ื่
                                                                                        ั
                                ี่
                                              ั

                       4  วินัย  พงศ์ศรีเพียร. ปาไป่ซีฟู่ – ปาไป่ต้าเตี้ยน. หน้า ๑๐๖ – ๑๑๑.
                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                         หน้า ๘
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25