Page 181 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 181
๒.๒.๒ บางโพ
ใน เรื่องที่ ๓ ปฐมเหตุแห่งหุบเขาลับแล โดยอ้างถึงพระพุทธเจ้าได้ทอดพระเนตรไปเห็นแต่ต้นโพธิ์
และใบโพธิ์ จึงได้ชื่อว่า บางโพ อันเป็นชุมชนบริเวณเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน ซึ่งคลองโพมีต้นกำเนิดจากบริเวณ
ู่
เขตพื้นที่อำเภอลับแลแล้วไหลลงมาทางใต้ลงสแม่น้ำน่าน
๒.๒.๓ กัมโพช หรือ ทุ่งยั้ง
ใน เรื่องที่ ๒ อรัมภกถา ได้บอกว่า เมืองลับแลนี้เกิดก่อนเมืองทุ่งยั้ง คือตั้งแต่สมัยทุ่งยั้งยังเป็นนคร
กัมโพช
ใน เรื่องที่ ๓ ปฐมเหตุแห่งหุบเขาลับแล ได้กล่าวถึงเรื่องชายหนุ่มชาวพระนครกัมโพช (ทุ่งยั้ง) ได ้
พลัดเข้าไปในเขตเมืองลับแล อันเป็นเมืองแม่หม้าย
ใน เรื่องที่ ๑๒ ชัยชนะสงครามของพระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมาร ได้กล่าวถึงกษัตริย์เมืองทุ่งยั้งเป็นชาว
ขอม ที่มีบุคลิกหน้าเลือดกระหายสงคราม
ใน เรื่องที่ ๑๔ อาณาเขตเมืองลับแล ได้บอกว่า นครกัมโพช (เมืองทุ่งยั้ง) หมดสภาพความเป็นเมือง
ไปแล้ว
๒.๒.๔ หาดงั่ววังแฟน
เป็นชื่อสถานที่ในอำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ (โปรดดู เรื่องที่ ๔ นักปราชญ์เมืองเชียงแสน)
๒.๒.๕ ท้องลับแล
เป็นชื่อของพื้นที่ราบลุ่มเมืองลับแล (โปรดดู เรื่องที่ ๔ นักปราชญ์เมืองเชียงแสน) และเป็นสถานท่ท ี่
ี
พระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมาร และมเหสีทั้งสองได้สร้างวัง (โปรดดู เรื่องที่ ๗ พระเจ้าฟ้าฮ่ำราชกุมารเสด็จมาครอง
เมืองลับแล)
๒.๒.๖ บ้านเชียงแสน
ิ
์
เป็นชื่อหมู่บ้านของหมู่ที่ ๑ ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล โดยอ้างว่าตั้งชื่อบ้านเป็นสัญลักษณเดมจาก
เมืองนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรีศรีเชียงแสน จึงนำคำว่า “เชียงแสน” มาตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านเพียงคำเดยว
ี
(โปรดดู เรื่องที่ ๕ การปกครองราษฎร)
๒.๒.๗ วัดมูล
วัดมูล หรือ วัดเก้าเง้ามูลศรัทธา เป็นวัดที่ตั้งอยู่ตรงสนามโรงเรียนประชาบาล หรือวัดใหม่เชียงแสนใน
้
ปัจจุบัน (โปรดดู เรื่องที่ ๖ ตั้งวัดเก้าเง้ามูลศรัทธา) แล้วพื้นที่ของวัดมูล อยู่ตรงใต้วัดใหม่ฝายหลวงเป็นตนวัด
เดิม ในปลายยุคอาณาจักรลานนาเกิดไฟไหม้วัดมูลจึงมีการย้ายวัดมาสร้างขึ้นที่ดอยฟากทุ่งน้ำท่วม ใช้ชื่อว่า วัด
์
ดอยมูล ต่อมาวัดดอยมูลได้ร้าง ชาวพม่าได้มาสร้างวัดทับไปที่เดิมให้ชื่อว่า วัดทับใหม่ มีการสร้างเสาหงสขึ้น
(โปรดดู เรื่องที่ ๑๗ ข้าศึกพม่าเข้าปล้นเสบียงเมืองลับแล)
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๓๑