Page 280 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 280

นายดำรงค์  แสวงรุจิธรรม

                                 (ดูเพิ่ม : https://www.youtube.com/watch?v=YKTIl8LTVrA)




                       ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ วัดลับแลงหลวง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้นำมาสู่การจัดโครงการ ๒ โครงการ

               คือ

                                                                                                 ั
                       (๑) กิจกรรมเสวนาเชิงวิชาการ “ชำระประวัติศาสตร์เมืองลับแล ตอน เมืองศรีพนมมาศกบเมืองลับ
               แลไม่ใช่เมืองเดียวกัน” เมื่อวันที่ ๑๘ – ๑๙ กรกฎาคม  พ.ศ. ๒๕๖๑

                       (๒) โครงการ อัญเชิญพระเจ้ายอดคำทิพย์เลียบเมือง และจัดแสดงแสงสเสียงเรื่อง “ตโลกราชะฟ้า
                                                                                               ิ
                                                                                   ี
               ฮ่าม พ่อออกราชาแห่งเมืองลับแลงไชย” เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม  พ.ศ. ๒๕๖๑  โดยได้รับการสนับสนุนจาก

               องค์การบริหารส่วนตำบลฝายหลวง เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ (เมืองลับแล) และ SPARK U LANNA
                                                                       ี่
                                                                                           ื
                       ซึ่งตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์เป็นวรรณกรรมที่ทรงคุณค่าทช่วยจุดประกายในการสบค้นรากเหง้าทาง
               ประวัติศาสตร์เมืองลับแลให้มีความชัดเจนอีกด้วย


                                                      ู้
                                           ี่
                       ทั้งนี้ไม่ว่าประวัติศาสตร์ทแท้จริงของผคนและชาวเมืองลับแลจะเป็นอย่างไร วรรณกรรมทั้ง ๓ เรื่องก็
                                                                                                   ่
               ได้ส่งผลต่อการพัฒนาองค์ความรู้ท้องถิ่น สร้างสรรค์ให้เมืองลับแลเป็นพื้นที่สร้างสรรคตอบสนองการทองเทยว
                                                                                     ์
                                                                                                       ี่
                                               ์
               ที่มีวิถีพอเพียง เรียบง่าย มีอัตลักษณเป็นของตนเอง ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ทุกคนจึงควรเข้าใจบริบทของ
               วรรณกรรมเพื่อนำมาพัฒนาองค์ความรู้ของท้องถิ่น เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ต่อไป





                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๑๓๐
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285