Page 91 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 91

ลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๕๓ – ๒๔๖๘)



                                                              ิ
                                                                       ิ
                                        ้
                                                ิ
                       เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟามหาวชราวุธ ครองสิรราชสมบัตเป็น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
                                          ์
               เจ้าอยหัว ในปีที่ขึ้นครองราชย พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นชินวรสิรวัฒน ครั้งดำรงดำรงตำแหนง สมเด็จ
                                                                                                  ่
                     ู่
                                                                         ิ
                                                                             ์
                                                     ้
                                                                                                      ื่
               พระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่คณะกลาง ไดให้ พระครูบุญ  อินทปญโญ ไปบูรณะวัดป่าแก้ว จึงตั้งชอวัด
                                                                                             ่
                                                                 ู
                              ์
               ใหม่ว่า “วัดเจดียคีรีวิหาร” แล้วใน พ.ศ. ๒๔๕๔ พระครบุญ  อินทปญโญ ดำรงตำแหนงเจ้าอาวาสวัด
                                                                                     ั
                                                     ิ
                                                                    ั
               และเจ้าคณะแขวงเอกเมืองพิชย  มณฑลพษณุโลก และได้รบพระราชทานสมศกดิ์ว่า  “พระครูธรรม
                                          ั
               ฐิติวงศ์คีรีเขตร” วัดเจดีย์คีรีวิหาร
                                            ี
                                                                            ั้
                                                                    ั
                                                                         ่
                       พ.ศ. ๒๔๕๕  พระศรพนมมาศ (ทองอิน) ได้รบแตงตงเป็น “ข้าหลวงเกษตรมณฑล
                         66
               พิษณุโลก”  และ หลวงพิศาลคีร (เที่ยง) นายอำเภอลับแล ขอแรงราษฎรตัดไม้ทำสะพานบนเส้นทาง
                                             ี
                                    67
               ไปพระแท่น(ศิลาอาสน์)
                       พ.ศ. ๒๔๕๖ หลวงพิศาลคีรี (เที่ยง) นายอำเภอลับแล บริจาค ๕๕๕ บาท สร้างสะพานบ้านพน
                                                                                                        ั
                                                   68
               แหวนข้ามห้วยแม่พร่องข้ามไปวัดผักราก
                       วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๗ เวลา ๙.๐๐ น. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิร
               ญาณวโรรส เสดจตรวจการคณะสงฆ์มาถึง เมืองลับแล ได้เสด็จที่ฝายสมเด็จเจ้า – วัดม่อนปราง – วัด
                              ็
               ทุ่งเอี้ยง – วัดท้องลับแล – วัดดอยสัก (วัดดอนสัก) – ฝายหลวง โดยมีพระศรีพนมมาศ (ทองอน)
                                                                                                       ิ
                                                                                                     69
               ถวายการรับรอง สมเด็จพระสังฆราชเจ้าได้พรรณนาภูมิสถานของเมืองลับแลรวมถึงชาวลับแล ว่า


                                                                            ู่
                                                                     ั้
                                    ี้
                      อำเภอลับแล น มีภูเขาเป็นเขต เมื่อไปแลเห็นภูเขาตงเชดอยข้างหลังเหมือนลับแล
                                                                        ิ
                                                       ี้
                                                                                ื่
                      แลดูงาม เพราะเหตนกระมังอำเภอนที่เป็นเมืองมาแตเดิม จึงไดชอว่า ลับแล พนที่
                                                                               ้
                                        ุ
                                         ี้
                                                                      ่
                                                                                            ื้
                                                                          ี
                                                                   ้
                                               ื้
                      เป็นสวนมาก มีหมากเป็นพน มีผลไม้ตางๆ มะพราว ทุเรยน มังคุด ลางสาด แต       ่
                                                          ่
                                                                            ่
                                              ุ
                      ทราบว่าไม่มีดีเหมือนที่กรงเทพฯ ตนไม้งามๆ นาก็มีบ้าง แตเป็นนาข้าวเหนยวเป็น
                                                                                         ี
                                                      ้
                        ื้
                                    ้
                      พน ข้าวเจ้ามีนอย ทราบว่าข้าวก็ดีแทบทุกปีเพราะพนที่ดี และทั้งได้อาศยนำซึ่งไข
                                                                                       ั
                                                                                          ้
                                                                     ื้
                      มาจากฝายด้วย พนดินตงแตเมืองมาจนถึงอำเภอน ดินสีแดงคล้ายอิฐ ราษฎรก็ดู
                                       ื้
                                             ั้
                                                                    ี้
                                                ่
                                                                    ั
                                                                      ้
                                                                            ั
                              ่
                                            ์
                      มาก แตด้ายสายสิญจนที่ประทานผูกข้อมือเด็กยงสินไปพนเศษ ที่ได้เห็นผู้หญิง

                       66  “รายงานเรื่องชี้แจงและคิดบำรุงกสิกรรมและพาณิชกรรม” ใน หจช. กส ๑๓/๑๑๖๕
                       67  ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๒๙ หน้า ๙๑๕ และหน้า ๙๑๖.
                       68  ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๓๐ หน้า ๑๓๒๒ – ๑๓๒๕.
                       69  สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เสด็จตรวจการคณะสงฆ์. หน้า ๒๐๖ – ๒๐๙.
                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๗๙
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96