Page 94 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 94
ลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๙ (พ.ศ. ๒๔๘๙ – ๒๕๕๙)
ความลักลั่นแห่งประวัติศาสตร์แห่งปัจจุบันสมัย
ึ
ิ
่
ข้อมูลจากการศกษาประวัตศาสตรเมืองลับแล และข้อมูลของเมืองลับแลที่ถูกเผยแพรใน
์
ั
ปัจจุบัน ยงมีข้อมูลที่มีความลักลั่นก่อให้เกิดการเผยแพรข้อมูลที่มีความผิดพลาด ไม่ว่าจะเป็น
่
์
ิ
ู
ื่
่
ั
ประวัตศาสตรเกี่ยวกับเมืองลบแล รวมถึงการสูญหายของชอเมืองดานนางพน ซึ่งเป็นทั้ง ๒ เมือง ใน
สังกัดเมืองพชัยจากทั้งหมด ๑๓ เมือง ความลักลนนมีที่มาจากอำนาจรัฐส่วนกลางและวาทกรรมเรื่อง
ั่
ี้
ิ
เล่า (มุขปาฐะ) ของคนในพนที่
ื้
72
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ บ้านด่านนาขาม ถูกโอนย้ายไปอยู่ในเขตอำเภอเมืองอุตรดิตถ์
ุ
พระครสิมพลีคณานุยต (จำปา อนาวิโล) ภูมิลำเนาบ้านทุ่งเอี้ยง อำเภอลับแล [บรรพชา พ.ศ.
ู
ี
ุ
ั
ุ
๒๔๙๑ อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๙๗] ในขณะที่ไปเรยนที่วัดมหาธาตยวราชรงสฤษฎิ์ กรงเทพฯ เมื่อ พ.ศ.
ุ
ิ
ี
ิ
ี
๒๕๐๓ ได้มีความสนใจประวัตเมืองลับแลจึงได้เรยบเรยงประวัตเมืองลับแลโดยมีเค้าโครงจาก
ู
พงศาวดารภาคพายัพ (ตำนานโยนกสิงหนวัติกุมาร) รวมถึงคำบอกเล่าจากพระครธรรมฐิติวงษ์คีรีเขตร
ี
จนเกิดการเรยบเรียง ประวัติเมืองลับแล แล้วได้เผยแพรข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของเมืองลับแลผ่านการ
่
เทศนา จนเกิดวาทกรรมตำนานว่าเมืองลับแลมีบรรพชนมาจาก ‘พระนครนาคพันธ์สิงหนวัติโยนกชัยบุรี
ี
ศรเชยงแสน’ มีการเล่าเรองตำนานเมืองแม่หม้าย, ตำนานเจ้าฟาฮ่ามกุมารกับนางสุมาลี-นางสุมาลา
ี
้
ื่
ื่
โดยสอดแทรกชอบ้านนามเมืองท้องถิ่นเข้าไปกับการประพันธ์ดวย และด้วยเหตุที่คณะอพยพจากเมือง
้
ั้
ื
ี
โยนกฯ มาตงบ้านเรอนในท้องที่ลับแลเป็นแห่งแรก จึงให้ชอว่า “บ้านเชยงแสน หมู่ที่ ๑” ซึ่งตำนาน
ื่
ุ
ปกรณ์ของพระครสิมพลีคณานยต นเองที่ทำให้เกิดวาทกรรมตอชาวลับแลว่า * ชาวลับแลมาจาก
่
ุ
ี้
ู
เมืองเชียงแสน * จนกระทั่งนายสมปรารถน เสาวไพบูลย นายอำเภอลับแล คนที่ ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๒๖ –
์
์
ี้
๒๕๒๗) ได้นำตำนานเมืองลับแลฉบับนมาปรับชำระเนื้อความให้กระชับและแก้ศักราชจากเดิมที่บอกว่า
ิ
์
เจ้าฟาฮ่ามกุมารมาครองเมืองลับแล พ.ศ. ๕๑๓ ส่วนฉบับใหม่แปลงเป็น พ.ศ. ๑๕๑๓ จัดพมพใน
้
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ พระครูธรรมเนตรโสภณ วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๗
นายโสภณ อ้นไชยะ อาจารย์วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ ไดรวบรวมเรียบเรียงเรื่องราวเกี่ยวกับเมือง
้
ี
์
ลับแลไว้ จากนน นายมณเฑยร ดีแท้ อาจารยวิทยาลัยครอุตรดิตถ์ได้รวบรวมประวัตศาสตรและ
ั้
ู
์
ิ
์
ิ
ุ
วัฒนธรรมของทุกอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์ขึ้นเป็นครงแรก ใน ประวัติเมืองอตรดิตถ์ จัดพมพเมื่อ
ั้
73
พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่งมีการกล่าวถึง ตำนานเมืองแม่หม้าย, วิถีวัฒนธรรมของชาวลับแล
72 ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หน้า ๓๐ เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๑๑๐ วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๕.
73 มณเฑียร ดีแท้. หน้า ๔๘ – ๖๙.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๒