Page 97 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 97

ทฤษฎีที่ ๓ เป็นทฤษฎีที่ได้นำเค้าโครงของเจ้านาย สมัยรัชกาลที่ ๕ มาร้อยเรียงเสนอใหม่ผสม

                                                ุ
               กับแนวคิดของพระครูสิมพลีคณานุยติ โดยเสนอว่า “ชาวลับแล (คนยวนล้านนา) เข้ามาอาศัยในที่ราบ
                                                                                    ั
                                                                                        ู่
                                    ี
                                                                       ์
                                                                                            ื้
                                                                                                        ั้
               หุบเขาหลังจากเมืองเชยงแสนแตก พ.ศ. ๒๓๔๗ โดยถูกเกณฑผู้คนลงมาอาศยอยในพนที่ตงแต่บัดนน
                                                                                                ั้
               เป็นต้นมา”

                                                                                         ั้
                                  ึ
                                                                                             ่
                       ซึ่งจากการศกษาไม่ว่าจะเป็นเอกสารที่พบในท้องที่ลับแล มีความเก่าแก่ตงแตสมัยพระมหา
                                                              ั
                                                                                             ิ
                                           ึ
                                                   ี
               ธรรมราชาธิราชที่ ๑ คือ จารกเจดีคีรวิหาร และยงพบโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัตศาสตรที่ม่อน
                                                                                                    ์
                   ั
               อารกษ์ เงินพดด้วง เศษภาชนะดินเผา โบราณสถานเก่าที่รางไปหลายแห่ง อันมีที่มาจากการ
                                                                        ้
                       ้
                                                                                                    ้
               เคลือนยายผู้คนและภัยธรรมชาต และหลักฐานอันเป็นประจักษ์พยานของวัฒนธรรมไทยวน (ลานนา)
                                             ิ
                   ่
               ในพนที่ลับแลยังปรากฏในเอกสารใบลานธัมม์ ลักษณะทางภาษา อีกด้วย  จึงเป็นไปได้ว่าเมืองลับแล(ง)
                   ื้
                                                   ิ
                                                                                              ื่
                                       ุ
                                                                                         ื้
               เกิดขึ้นเป็นชุมชนมาตั้งแต่ยคก่อนประวัตศาสตร์ อาจมีผู้คนโยกย้ายเข้ามาอาศัยในพนที่เรอยมา จนเกิด
               เป็นเมืองหลากวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็น ไทยวน (ล้านนา), ไทใหญ่, ไทพวน, ไทใต้ (สยาม) และชาวจีน


               ประเด็น ๒ ชื่อเมือง ‘ลับแล’

                       คำว่า “เมืองลับแล” ถูกเรยกอยางเป็นทางการในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คือ
                                                      ่
                                                ี
                                                  ื
                                                                         ั
                                                                        ิ
                                                          ิ
                                                                                                        ้
               “หนังสือทูตตอบ” ว่าเป็นเมืองขึ้นหรอเมืองบรวารของเมืองพชยอันเป็นเมืองหลักในที่ราบลุ่มแม่นำ
                                                                        ้
                                        ุ
                       ่
               น่าน  แตในจารกฐานพระพทธรปไม้ของพระยาพรหมโวหาร ไดบอกว่า “พระยาพรหมโวหารและนาง
                             ึ
                                            ู
                                                                                      ่
                  ี
                                 ุ
                                     ู
                       ้
                                                                                                     ี
               สรชมไดถวายพระพทธรปไว้ที่วัดลับแลงหลวง” และใน “คร่าวสี่บท (คร่าวฮำนางชม)” ได้เรยกว่า
               “ลับแลง” กับ “ลับแลงไจย” เมื่ออ่านเป็นคำไทยกลางจึงเป็น “ลับแลงไชย” หรือ “ลับแลงชัย”
                                                                              ุ
                       แล้วพบว่าใน “ประวัติเมืองลับแล” ของพระครูสิมพลีคณานุยติ ยังกล่าวถึงคำ ๒ คำคือ “ลับ
               แลหลวง” กับ “ลับแลน้อย” ซึ่งพ้องกับใบลานธัมม์ที่พบที่วัดน้ำใส ระบุว่า “ลับแลงหลวง” เป็นไปได ้
               ว่าการแบ่งพนที่เรียกระหว่าง ‘-หลวง’ กับ ‘-น้อย’ ภูมิสถานของ “ลับแลงหลวง” คงหมายถึงพนที่หรอ
                           ื้
                                                                                                        ื
                                                                                                   ื้
                                ั้
               ชุมชนเมืองใหญ่ที่ตงอยู่ทางตอนใต้ มีอาณาบริเวณในปัจจุบันคือ ตำบลฝายหลวง จนถึงตำบลชัยจุมพล
                                                                                             ่
                                                      ุ
                                                 ื้
                               ้
                                                                                         ั้
               ส่วน “ลับแลงนอย” คงหมายถึงพนที่ชมชนของเมืองด่านของเมืองลับแลตงแตบ้านชายเขา
               ตำบลนานกกก, ตำบลน้ำริด ไปจนถึงตำบลด่านนาขาม อำเภอเมืองอุตรดิตถ์



                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๘๕
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102