Page 101 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 101

ุ
                                                                                ื่
                                                                      ิ
                       (๒)  พระราชพงศาวดารกรงเก่า ฉบับหลวงประเสรฐฯ ได้ระบุชอเมืองชากังราวไว้เมื่อ พ.ศ.
               ๑๙๙๔ ดังว่า “ศักราช ๘๑๓ มะแมศก ครั้งนั้นมหาราช มาเอาเมืองชากังราวได้แล้วจึงเอาเมือง
                                                           85
                                                                                      ื้
               สุกโขไทย เข้าปล้นเมืองมิได้ก็เลิกทัพกลับไป”   เมื่อตรวจสอบกับ ตำนานพนเมืองเชียงใหม่ พบว่า
                    ้
                                                ิ
                                                                            ั้
               ในปีรวงเม็ด พ.ศ. ๑๙๙๔ พระญาตโลกราชยกทัพมาทางเมืองทุ่งยง - เมืองฝาง - เมืองสองแคว -
                                                  ี
               เมืองปากยม - แล้วเสด็จกลับเมืองเชยงใหม่   แสดงว่าพระญาติโลกราชยกทัพผ่านลงมาทาง
                                                         86
               แม่น้ำน่านตลอด ซึ่งไม่ผ่านเมืองกำแพงเพชรเลย จนเมื่อ พ.ศ. ๒๐๐๔ พระญาเชลียงจึงชวนพระ
                                    ี
                                                                          ี
                                                                                   ้
                                                                  ื้
               ญาติโลกราชยกทัพไปตเมืองกำแพงเพชร ซึ่งใน ตำนานพนเมืองเชยงใหม่ ไดออกชื่อเมืองกำแพงเพชร
               ว่า “เมืองปางพล / ปลางพล”   ตรงกับใน พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ บอกว่า
                                          87
                  ั
                                                                       ิ
               “ศกราช ๘๒๓ มะเส็งศก พญาชเลียงนำมหาราชมาเอาเมืองพษณุโลกเข้าปล้นเมืองเป็นสามารถมิได          ้
               เมือง  แลจึงยกทัพเปรอไปเอาเมืองกำแพงเพชรแลเข้าปล้นเมืองถึง ๗ วันมิได้เมือง แลมหาราชก็เลิก
               ทัพคืนไปเชียงใหม่”  88


               จากข้อมูลในหลักฐานของทั้ง ๒ ฝ่าย ชี้ชัดว่าเมืองชากังราวไม่ใช่เมืองกำแพงเพชร และเมือง

               กำแพงเพชรมีชื่อในเอกสารล้านนาว่า “ปางพล” ไม่ใช่เมืองชากังราวอย่างแน่นอน


                                                           ิ
                       จากเหตุผลที่กลาวอ้างมาทั้งหมดทำให้ พเศษ  เจียจันทร์พงษ์ เห็นว่าเมืองชากังราวควรตงอย ู่
                                     ่
                                                                                                      ั้
               บนที่ราบลุ่มแม่นำนาน ตอนใดตอนหนงระหว่างเมืองทุ่งยงถึงเมืองปากยม (พจิตร) แตเมื่อพจารณา
                                                  ึ่
                                                                                     ิ
                                                                   ั้
                                                                                             ่
                                                                                                   ิ
                                 ่
                               ้
                                               ่
                   ุ
                                                        ่
               เหตการณ์ที่พระญาผากอง เมืองนานลงมาชวยเมืองชากังราวรบกับฝ่ายอโยธยาเมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๙
                                             ้
               หลังจากที่เมืองสองแควตกอยใตอำนาจฝ่ายอโยธยาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. ๑๙๑๘ ดังนั้นเมืองชากังราวควร
                                          ู่
                                                                ื้
                                  ั้
               อยระหว่างเมืองทุ่งยงกับเมืองสองแควมากกว่า และพนที่ระหว่างเมืองทุ่งยง – เมืองสองแคว  จึงได้
                                                                                   ั้
                  ู่
                                                                  89
               สันนิษฐานว่า เมืองชากังราว = ชื่อเดิมของเมืองพิชัย

                         ่
                                                   ิ
                                ิ
                                                                                          ุ
                                                    ั
                                          ้
                       แตจากบรบทการสรางเมืองพชยได้ถูกกล่าวไว้ใน พระราชพงศาวดารกรงเก่า ฉบับหลวง
                                                                             90
                       ิ
                                                                        ิ
                                ั
               ประเสรฐฯ ว่า “ศกราช ๘๕๒ จอศก แรกให้ก่อกำแพงเมืองพไชย”  คือ พ.ศ. ๒๐๓๓ หลังจากที่
                                                                                 ึ้
               สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถสวรรคตไป ๓ ปี การสร้างเมืองพชัยจึงเกิดขนบริเวณที่ราบลุ่มแม่นำน่าน
                                                                                                    ้
                                                                       ิ
                                                                                     ิ
               ในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๓ จากการพิจารณาสัณฐานของเมืองพชยเป็นเมืองที่มีลักษณะ
                                                                                      ั

                       85  กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. หน้า ๒๑๕.
                       86  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. หน้า ๖๕ – ๖๖.
                       87  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. หน้า ๗๑ – ๗๒.
                       88  กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. หน้า ๒๑๖.
                       89  พิเศษ  เจียจันทร์พงษ์. หน้า ๑๘๗ และ ๑๙๐.
                       90  กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. หน้า ๒๑๘.
                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๘๙
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106