Page 102 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 102
้
ู
่
่
ั้
คล้ายกับเมืองกำแพงเพชรคือเป็นรปสีเหลียมขนานไปกับแม่นำและตงอยทางตะวันออกของแม่นำ
้
ู่
่
ื่
้
ิ
สำคัญเชนเดียวกัน ทำให้เข้าใจว่าเมืองพชัยและเมืองกำแพงเพชรคงไดรับอิทธิพลจากฝ่ายอโยธยาเพอ
่
ควบคุมทรัพยากรของสายน้ำสำคัญทั้งแม่น้ำปิงและแม่น้ำนาน อีกทั้งจากการขุดค้นทางโบราณคดีเมือง
ั
่
พชย ทำให้ทราบว่า เมืองพชยในสมัยแรก (ชวงสุโขทัย – อยธยาตอนตน) พบเครองถ้วยเคลือบแบบ
ิ
้
ั
ิ
ื่
ุ
์
ิ
เชลียง เครองถ้วยจีนเคลือบเขียวสมัยราชวงศหยวน แสดงว่าเมืองพชยเป็นชมชนเก่าก่อนการสราง
ั
ื่
ุ
้
ั้
้
กำแพงเมืองและคูเมืองล้อมรอบ โดยกำแพงเมืองมีลักษณะเป็นคูนำคันดิน ๒ ชน ภายในกำแพงเมือง
91
ั
้
ั
ิ
ู่
พบว่าก่อนการสรางกำแพงเมืองไม่มีการอยอาศยมาก่อน เมืองพชยจึงเป็นเมืองที่มีการขยายตวมา
ั
จากชุมชนเก่าแล้วถูกจัดการให้เป็นเมืองอย่างแน่ชัดโดยฝ่ายอโยธยา
และเมื่อพจารณาจากตำนานพระพทธสิหิงค์ที่มีเจ้าเมืองกำแพงเพชร คือ “ติปัญญา
ิ
ุ
อำมาตย์” หรอ “พระญาญาณดิศ” ชื่อนมีความหมายเดียวกันแปลว่า ผู้มีปัญญาเป็นเลิศ เจ้าเมือง
ื
ี้
ี้
่
กำแพงเพชรผู้นถูกเล่าว่ามีพระราชมารดาเป็นพระราชเทวีในสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๑ (พองั่ว)
แสดงว่าเจ้าเมืองกำแพงเพชรผู้นเป็นพระราชโอรสองค์หนึ่งของสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๑ (พองั่ว)
่
ี้
หากเมืองกำแพงเพชรคือเมืองชากังราวเหตใดสมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๑ ตองยกทัพมา
้
ุ
ปราบปรามถึง ๔ ครั้ง
91 ภัคธร ชาญฤทธิเสน, ๒๕๕๔. หน้า ๑๒๑.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๙๐