Page 100 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 100
ไปดูทะเลเมืองเก่า ซึ่งเข้าใจว่าที่เรียกในหนังสือพระราชพงศาวดารว่า เมืองชากังราว เป็นเมือง
81
มอญมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ครั้นมาถึงสมัยพระร่วงกรุงสุโขทัยเปลี่ยนชื่อเรียกว่า เมืองนครชุม”
ั
ิ
ู่
(๔) หนงสือ “นทานโบราณคดี พ.ศ. ๒๔๘๓” ได้อธิบายว่า “เมืองชากังราวนั้นอยที่ปาก
คลองสวนหมาก ตรงข้ามกับเมืองกำแพงเพชร เมื่อครั้งกรุงสุโขทัยเคยเปลี่ยนชือว่า “เมืองนคร
่
ชุม” แต่ภายหลังมารวมเป็นเมืองเดียวกับเมืองกำแพงเพชร ชื่อเมืองชากังราวก็สูญไป”
82
(๕) หนังสือ “บรรยายพงศาวดารสยาม” ได้อธิบายไว้ว่า “เมืองกำแพงเพ็ชร์มิได้ปรากฏใน
ู่
ศิลาจารึกสมัยสุโขทัย แต่ตัวเมืองมีอยสองเมือง เมืองฟากตะวันตกที่ปากคลองสวนหมาก
ปรากฏชื่อในศิลาจารึกว่าเมืองนครชุม เมืองฝั่งตะวันออกตรงที่ตั้งเมืองเดี๋ยวนีเรียกว่าเมืองชา
้
กังราว อันชื่อว่าเมืองกำแพงเพชรนั้น เห็นจะเกิดขึ้นเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา เรียกเมืองชา
กังราวกับเมืองนครชุมรวมกันเป็นเมืองเดียว ว่า เมืองกำแพงเพ็ชร”
83
์
ิ
์
จะเห็นได้ว่า ข้อสันนษฐานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทำให้
ุ
์
เข้านกประวัตศาสตรในสมัยตอมาเข้าใจไปว่า “เมืองชากังราว = เมืองนครชม บรเวณปากคลองสวน
ิ
่
ั
ิ
้
หมาก” แล้วได้มีการขยายตัวของเมืองมาสรางเป็นเมืองกำแพงเพชร หากพิจารณาจากหลักฐานร่วม
สมัยคือจารึกหลักที่ ๘ เขาสุมนกูฏ ชี้ชัดได้ว่า “เมืองชากังราว กับ เมืองนครชุม” เป็นคนละ
เมืองกันอย่างแน่นอน
ดังนั้นจึงต้องมาพจารณาตามหลักฐานและเหตุการณ์อื่น ๆ ว่าเมืองชากังราวควรหมายถึงพนที่
ิ
ื้
บริเวณใดแน่ ? โดยต้องพิจารณาจากเหตุผลคือ
84
(๑) เมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๙ ท้าวผ่าคอง คือ พระญาผากอง กษัตรย์แห่งเมืองน่าน (พ.ศ. ๑๙๐๖
ิ
่
- ๑๙๒๖) ได้ยกทัพมาชวยพญาคำแหง เจ้าเมืองชากังราว รบกับฝ่ายอโยธยา พระญาผากองคงไม่
ี้
ู่
สามารถยกทัพผ่านเข้ามายงเมืองสุโขทัย เมืองกำแพงเพชรได เพราะเมืองเหล่านตกอยภายใตอำนาจ
้
ั
้
่
่
ั
ของฝ่ายอโยธยาแล้ว เมื่อฝ่ายอโยธยาตีทัพเมืองนานแตกพายไป ทำให้พระญาผากองยงหนกลับเมือง
ี
น่านได้โดยสะดวก หากเมืองชากังราวคือเมืองกำแพงเพชร พระญาผากองต้องเดินทางไกลมาก
จากแม่น้ำปิงมายังแม่น้ำน่านและต้องหนีกลับเมืองน่านอีกคงถูกฝ่ายอโยธยาจับได้เป็นแน่
81 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ๒๔๗๔. หน้า ๒๕.
82 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ๒๕๐๓. หน้า ๔๔๗.
83 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ๒๔๖๗. หน้า ๓๗.
84 ใน พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา (เล่ม ๒) สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้เข้าใจว่า
ท้าวผากอง เป็น เจ้าเมืองนครลำปาง ; มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ๒๕๕๙. หน้า ๓๐.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๘๘