Page 109 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 109
๙๗
ต้นหอม จนกระทั่งหัวหอมโตจึงหยุดน้ ำ โดยจะสำนที่ตักน้ ำด้วยตอกไม้ไผ่
เว้ำลึกลงไปมีมุมเป็นสำมเหลี่ยมสำนตอกด้วยลำยสองหรือลำยขัดก็ได้ ใช้ซีก
ไม้ไผ่เป็นขอบถักหวำยรัดให้แน่นซึ่งชำวบ้ำนเรียกว่ำ
“หัวแมลงวัน” ขอบกระชอนด้ำนบนสำนตอกหักเป็นมุมสำมเหลี่ยม
ผูกมัดกับด้ำมไม้ไผ่ กระชอนส่วนใหญ่กว้ำงประมำณ ๒๐ เซนติเมตร ยำว
ประมำณ ๓๐ เซนติเมตร ตัดไม้ไผ่ล ำเล็กๆ หรือไม้เลี้ยง ไม้รวก ยำว
ประมำณ ๒ เมตร เหลำให้เรียบท ำเป็นด้ำม ใช้เส้นหวำยผ่ำซีกสอดร้อยยึด
ด้ำมไม้ไผ่จนแน่น กระชอนรดน้ ำไม่ต้องชันยำแต่อย่ำงใด เวลำใช้จะจับด้ำม
โดยให้ปำกกระชอนตักน้ ำรดแต่ละแถวกระชอนรดน้ ำ ยังมีกำรใช้กันที่อำเภอ
ลับแล จังหวัดอตรดิตถ์อยู่บ้ำง แต่ขณะนี้เริ่มลดน้อยลงไปเรื่อยๆ เพรำะกำร
ุ
ปลูกพืชผักและต้นหอมของชำวลับแลจะใช้เครื่องสูบน้ ำต่อสำยยำงยำว ๆ มี
หัวฉีดรดน้ ำเป็นฝอย สะดวกสบำยกว่ำกำรใช้กระชอนรดน้ ำในสมัยก่อนมำก
หัตถกรรมเครื่องนุ่งห่ม (ถุง,หมอน,ผ้าห่มหัวเก็บ)
ถุงย่ามลับแล
ย่ำมจกแบบโบรำณ อำเภอลับแล จังหวัดอตรดิตถ์ เป็นย่ำมที่มี
ุ
ิ
ลวดลำยเป็นลักษณะพเศษ คือมีกำรจกเป็นรูปหงส์เรียงเฉียงกันขึ้นไป ซึ่ง
ยำกกว่ำกำรจกในแนวระนำบหรือแนวเดียวกัน รวมถึงกำรใช้สี เช่น สีแดง
และสีเหลือง และกำรปั่นไก หรือตีเกลียว หรือกำรควบเส้นด้ำย ๒ สี เข้ำ
ด้วยกัน พบมีกำรประดับตกแต่งด้วยแผ่นโลหะกลมเล็กๆ ที่ปำกถุงย่ำม และ
ทอทิ้งชำยครุยที่ก้นถุงย่ำมทั้ง ๒ ข้ำง ถงหรือถุงย่ำมชำวลับแลนั้นแบ่งตำม
ประเภทและบริบทกำรใช้งำนหลำยชนิดดังต่อไปนี้