Page 110 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 110
๙๘
๑. ถงกุลา เป็นถุงย่ามที่ใช้ส้าหรับออกงาน มักเป็นงานมงคล
สามารถใช้ได้ทั้งหญิงและชาย
นิยมใช้ส้าหรับใส่ดอกไม้ธูป
ื่
เทียนหรือขันใส่ข้าวสารเพอ
น้าไปใส่บาตรข้าวสาร หน้าถุง
จะใช้ไหมจกเป็นแฉกคล้าย
หางปลา โดยมีลายนกและ
ลายขอหนังสือเป็นพน บ้างก็
ื้
จกเป็นรูปสัตว์
(ถุงกุลา,ถุงบ่าง ที่มา : นันทยศ เรียนแพง)
ื่
เช่น ช้าง ม้า เป็นต้น เป็นการจกทับเส้นยืน และเป็นการจกเพอตั้งใจท้าถุง
ย่ามโดยเฉพาะ บ้างก็มีการปักเลื่อมเงินประดับ เพอเวลาเข้าไต้เข้าไฟ ไป
ื่
ท้าบุญยามค่้าคืน เลื่อมเงินจะล้อแสงเปล่งประกายระยิบระยับ แม้ยามอยู่ใต้
แสงแดดก็สวยงามเช่นกัน โดยเฉพาะเมื่อยามแขวนอยู่บนไม้คานพร้อมกับ
“บุงรัก” เวลาที่แห่ขันหมากไปไขว่ผี ก็ยิ่งดูสวยงามมากขึ้น นอกจากนั้นยัง
นิยมใช้พู่ประดับตรงตัวถุงย่าม บ้างก็ใช้ไหมพรมสีสดใส บ้างก็ใช้เส้นฝ้ายเส้น
เล็ก ยามสะพายบ่าพู่แกว่งตุ้งติ้งดูน่ารักตามจังหวะการเดิน
๒. ถงไก เป็นถุงย่ามทอด้วยการปั่นไก หรือ ปั่นไค มีขนาดใหญ่ ใช้
ใส่สิ่งของจิปาถะในชีวิตประจ้าวัน
๓. ถงสิ้ว เป็นถุงย่ามสามัญสีเขียว
๔. ถงขี้กะลัวะ หรือ ถงลัวะ เป็นถงอย่างสามัญสุด และคล้ายถุงน้้า
ปาด ที่เป็นพนขาวและมีลายสีฟาสลับไป นิยมใส่ของจิปาถะและส้าหรับ
ื้
้
สะพายไปไร่ไปสวน