Page 108 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 108

๙๖

               ๘. ด้านศิลปะพื้นถิ่น

                       เนื่องจำกอำเภอลับแลมีควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม
               หลำกหลำยเชื้อสำย จึงมีกำรผสมด้ำนศิลปะท้องถิ่น โดยแบ่งแยกเป็น ๒
               ประเภท ด้ำนหัตถกรรมที่ใช้ในเกษตรกรรม และด้ำนหัตถกรรมที่

               เครื่องนุ่งห่ม

               ด้านหัตถกรรมที่ใช้ในเกษตรกรรม















                       กระชอนรดน้ ำ เป็นภำชนะสำนด้วยตอก ใช้ส ำหรับตักน้ ำรดต้นหอม
               หรือพืชผักอื่น ๆ ที่ปลูกยกร่อง บำงทีเรียกว่ำ “ชงโลงรดน้ ำหอม” ในเขตหัว

               เมืองฝ่ำยเหนือ ซึ่งมีจังหวัดพษณุโลก พจิตร สุโขทัย ตำก ก ำแพงเพชร
                                                  ิ
                                         ิ
                                    ุ
                                                ุ
               เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ อทัยธำนี และอตรดิตถ์ ประชำกรส่วนใหญ่มีอำชีพ
                                               ื
               ท ำนำเป็นหลัก ช่วงเวลำว่ำงอำจปลูกพชผักประเภทหอม กระเทียม ผักกำด
                                                                   ี
               ผักคะน้ำ มะเขือเทศ แตงกวำ เป็นต้น กำรปลูกดังกล่ำวเพยงประกอบ
               อำหำรกินในครัวเรือน หำกมีเหลือบ้ำงก็จะน ำไปแลกเปลี่ยนสิ่งของต่ำง ๆ


               หรือไปขำยที่ตลำด กำรปลูกต้นหอมเป็นอำชีพหนึ่งซึ่งส ำคัญของชำวอำเภอ
               ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ขณะนี้สำมำรถท ำรำยได้ปีละประมำณ ๑๐ กว่ำล้ำน

               บำท ชำวบ้ำนสมัยก่อนเมื่อปลูกต้นหอมแล้วจะใช้กระชอนรดน้ ำตักวิดรด
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113