Page 115 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 115
๑๐๓
ปู้งามๆ เอาไว้ใส่เคี่ยงย้อง
ปู้ก้องด้อง ไล่ไปไล่มา
้
อี่เขียดตา มาฮองแอ่บๆ
ลักษณะกลอนเพลงและการส่งสัมผัสเพลงซิกจุ่งจาในเขตเทศบาลต้าบล
ศรีพนมมาศ
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ 1 (จา) สัมผัสกับค้าที่ 2 ของวรรคที่ 2 (อา)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ 2 (เหม่า) สัมผัสกับค้าสุดท้ายของวรรคที่ 3 (ข้าว)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ 4 (หนอง) สัมผัสกับค้าสุดท้ายของวรรคที่ 5 (กอง)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ 6 (ว่าย) สัมผัสกับค้าสุดท้ายของวรรคที่ 8 (ไว้)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ 10 (ย้อง) สัมผัสกับค้าสุดท้ายของวรรคที่ 11 (ด้อง)
กลอนเพลงซิกจุ่งจาในเขตเทศบาลต้าบลศรีพนมมาศ มีลักษณะไม่
เคร่งครัดการส่งสัมผัสและไม่ก้าหนดค้าตายตัวเหมือนกลอนสุภาพอื่น ๆ เช่น
กลอนหก กลอนแปด ฯลฯ เป็นลักษณะกลอนเพลงพื้นบ้านเฉพาะของเมือง
ลับแล
2) ความหมายของบทเพลง
เนื่องจากเพลงซิกจุ่งจาในเขตเทศบาลต้าบลศรีพนมมาศเป็นบท
เพลงที่ขับร้องด้วยภาษาล้านนาโบราณ ค้าบางค้าใช้ความหมายแตกต่างกับ
ในปัจจุบัน เช่น ค้าว่า “กอง” ในสมัยโบราณชาวลับแล เรียกทางเดินส้าหรับ
ี
วัวควายว่า กอง และค้าว่า กอง ยังมีความหมาย หมายถึง คลอง อกด้วย
แต่ปัจจุบันค้าว่า กอง ใช้ในความหมาย หมายถึง คลอง เพียงอย่างเดียว
ิ
สรุปความหมายเพลงซกจุ่งจาในเขตเทศบาลต าบลศรีพนมมาศ
ไกวเปลไปไกวเปลมา อีอาหมาเหม่า น้้าท่วมข้าวที่ทุ่งนาพนที่ต่้า น้้า
ื้
ท่วมคลองจะตีวัวไปลงว่ายน้้า วัวตัวไหนดื้อรั้นไม่เชื่อฟงจะต้องเอาไปท้างาน
ั
หนัก เช่น ต่างข้าวสาร ส่วนวัวตัวไหนที่ดี ไม่ดื้อรั้น เชื่อฟง จะท้างานสบาย
ั