Page 119 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 119
๑๐๗
เช่น เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ประหลาดใจ เป็นการสร้างจินตนาการ หรือ
เพื่อให้เด็กขบคิด ฯลฯ
(๓) แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปและวิถีชีวิตของคนลับแลในอดีต
ั
เป็นสภาพสังคมที่มีความรัก ความผูกพน ให้ความช่วยเหลือ ดูแลกันเป็น
ั
อย่างดี และหากสมาชิกของสังคมคนใดประพฤติตัวเป็นอนธพาล ก็จะใช้วิธี
ตัดสินความผิดโดยกฎของสังคมตนเอง
๓. เพลงตุ๊กโตลายฝั่งผ้อย
เพลงตั๊กโตลายฝั่งผ้อยเป็นบทเพลงที่ใช้ร้องส้าหรับขับกล่อมให้เด็ก
นอน
๑) ค้าร้องและกลอนเพลง
ตุ๊กโตเอ๊ย ต๊กโตลายฝั่งผ้อย
ย้อยหัวลงมา มากิ๋นน้้าตาละอ่อน
ละอ่อนมันไห้ ไห้อยากได่หลับ
ลงมากิ๋นตับละอ่อน
ลักษณะกลอนเพลงและการส่งสัมผัสตุ๊กโตลายฝั่งผ้อย
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ ๒ (ผ้อย) สัมผัสกับค้าแรกของวรรคที่ ๓ (ย้อย)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ ๓ (มา) ซ้้ากับค้าแรกของวรรคที่ ๔ (มา)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ ๔(ละอ่อน) ซ้้ากับค้าแรกของวรรคที่ ๕(ละอ่อน)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ ๕ (ไห้ ซ้้ากับค้าแรกของวรรคที่ ๖ (ไห้)
ค้าสุดท้ายของวรรคที่ ๖(หลับ) สัมผัสกับค้าที่ ๔ ของวรรคที่ ๗(ตับ)
เพลงตั๊กโตลายฝั่งผ้อยมีลักษณะกลอนเพลงของเพลงไม่เคร่งครัด
ื่
การส่งสัมผัส และไม่ก้าหนดด้าตายตัวเหมือนกลอนสุภาพอน ๆ เช่น กลอน
หก กลอนแปดฯลฯ นอกจากการใช้สัมผัสแล้ว ยังใช้เทคนิคการเล่นค้าซ้้า
เช่น ค้าว่าละออนไห้ ในการประพนธ์เพลงอกด้วย เป็นลักษณะกลอนเพลง
ี
ั
่
พื้นบ้านเฉพาะของเมืองลับแล