Page 30 - 143231
P. 30
o ยกเลิกระบบศักดินา ยกฐานะสตรี
o ให้อิสระในการเลือกอาชีพ ที่อยู่ สมรส ตั้งนามสกุล
o (แต่ด้วยความเคยชิน) แยกเป็น ขุนนาง-ซามุไร-สามัญชน
o ยกเลิกสิทธิพิเศษของซามุไร ประชาชนทุกคนมีฐานะเท่าเทียมกัน
o ยกเลิกเบี้ยหวัดแก่ซามุไรเดิม → หันมาประกอบอาชีพ
o ส่งซามุไรไปพัฒนาบุกเบิกแถบฮอกไกโด → ป้องกันการรุกรานจากรัฐเซียได้อีกทาง
o ประกาศนโยบายการศึกษา → ปลูกฝังความคิดและค่านิยมแบบดั้งเดิม
o ส่งเสริมแนวความคิดแบบลัทธิขงจื๊อในแผนการศึกษา เพื่อเน้นความจงรักภักดีต่อองค์จักรพรรดิ
การดำเนินงานปฏิรูปประเทศ : เศรษฐกิจ
o พ่อค้า นักธุรกิจ → แรงสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
o ความต้องการเงินใช้พัฒนาประเทศมาก : รายได้<รายจ่าย
o ต้องกู้ยืมจากพ่อค้าและกู้จากต่างชาติ 2 ครั้ง
o จำเป็นต้องมีนโยบายทางการเงินที่ดี : ดูงานจากต่างชาติ
o ปรับปรุงระบบการเงิน ใช้เหมือนกันทั่วประเทศ (ค.ศ.1871)
o จัดการระบบการเก็บภาษีที่ดิน ยกเลิกการครอบครองที่ดินในระบบศักดินา มีการปฏิรูปที่ดิน
ชาวนามีที่นาทำกินเป็นของตนเอง ทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกันตามกฎหมาย
o สร้างระบบการคมนาคม ระบบขนส่งทางทะเล ปรับปรุงระบบการเงินการธนาคาร วางรากฐาน
การพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม
o รัฐส่งเสริมพ่อค้า ตั้งอุตสาหกรรมใหม่ : จ้างต่างชาติมาสอนงาน+ดูแล, ส่งนักศึกษาไปต่างประเทศ
o นายทุน (เอกชน) กลัวเทคโนโลยี ไม่ลงทุน → รัฐวิสาหกิจ
o พัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ๆ เช่น โรงงานถลุงเหล็กที่นางาซากิ โรงงานทอผ้าที่คาโกชิม่า →
สินค้าออกสำคัญ
o ส่งเสริมการส่งออก ให้สิทธิการค้า : ค้ากับต่างชาติได้โดยตรง
o ออกกฎหมายการค้าโดยตรง (ค.ศ.1875)
o รัฐสร้างปัจจัยพื้นฐานให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
- วางสายเคเบิ้ลต่อกับเอเชียตะวันออก (ค.ศ. 1870)
- วางโทรเลข โตเกียว-โยโกฮาม่า-โอซาก้า-นางาซาก ิ
- การคมนาคม ทางรถไฟสายแรก โตเกียว-โยโกฮาม่า (ค.ศ. 1872) → วิศวกรญี่ปุ่น
สร้างได้เองในปีค.ศ.1880
o รัฐส่งเสริมการตั้งบริษัท, แลกเปลี่ยนเงินตรา, ธนาคารพานิชย์ (ค.ศ. 1871)
o บ.เดินเรือมิตซูบิชิ : ธุรกิจเดินเรือแข่งขันกับต่างชาติได้ (ค.ศ. 1875)