Page 11 - สนทนาภาษาชาวบ้าน ตอนที่ 12 ทิฏฐุชุกัมมในกัมมฐาน
P. 11

 ๓. ความเพ่งเล็งในผลที่จะเกิดขึ้นหรือในการปฏิบัติ สนใจนักพอปฏิบัติไปได้ชั่วครู่หนึ่งฉันถึงไหนแลว้ฉันเปน็อย่างไร แล้ว แหมเจริญเหลือเกิน ซึ่งมันไม่ใช่หน้าที่ของผู้ปฏิบัติ มันเป็นหน้าที่ ของผู้ให้คําสอนเขารขู้องเขาเองว่าถ้าคนนั้นถึงนั่นแล้วเขาควรจะ ให้อะไรมันเรื่องอะไรล่ะฉันถึงไหนแลว้ฉันเปน็อย่างไรแล้วนี่อยู่ ในกามฉันทนิวรณ์ ที่บอกว่ารู้แล้ว เพราะพวกเราเข้าใจว่า กามฉันท นิวรณ์คือความใคร่อย่างเดียว ไม่ใช่ มันกว้างกว่านั้นอีก มันครอบ จักรวาลเลย
๔.ความเพลิดเพลินหลงใหลในผลที่บังเกิดขึ้น เนื่องจาก เราเจริญสมาธิผมรู้เวลานี้คนติดกันหลายคนแต่ไม่ใชค่นที่นั่งอยู่ที่นี่ พอปฏิบัติไปถึงสมาธิแลว้ แหมมันสบายจริง แหม มันเกิดอย่างนี้จริง ก็อยู่ที่นั่นเถอะ เพราะผู้ให้การฝึกอบรมก็ไม่ได้ชี้แจงว่าตัวนี้เป็นกาม ฉันทนิวรณ์มันเป็นตัวทําลายแล้วจะกา้วขึ้นไปอย่างไร
เห็นไหมเพียงแต่กามฉันทนิวรณ์เรายังไม่รู้จริงๆ แล้วเราจะไปรู้ อะไรอีกตั้งมากมายแลว้ก็บอกได้ว่าฉันสมบูรณ์หมดแล้ว ประพฤติ ธรรมปฏิบัติธรรมสมบูรณ์ทุกอย่าง
๕. สร้างวิมานในอากาศที่จะปฏิบัติให้บรรลุผล ปฏิบัติไป ใจก็นึกไป พอถึงขั้นนั้น ฉันจะต้องรับผลอย่างนั้น อย่าว่าแต่ โลกุตตร ปัญญาเลย เพียงแต่โลกียปัญญาก็ไม่เกิด จะไปเอาอะไรล่ะ เพราะ เรายังติดอยู่ นี่เพียงเพียรตัวเดียวเท่านั้น
๖. ความหวงั ผลแหง่ ความสําเรจ็ นกึ ไดห้ รอื พระพทุ ธเจา้ ทรง สอนไว้แล้วใช่ไหมว่า ทุกอย่างเป็นอนิจจัง เพียงแต่เราปฏิบัติถูกบ้าง ผิดบ้าง นึกหรือว่าเราจะสําเร็จ เพราะถ้าเราไปนึกถึงว่าเราปฏิบัติแลว้ เราจะต้องสําเร็จมันกล็้มเหลว ผู้ใดที่ปฏิบัติแล้วนึกว่าเราจะสําเร็จ






























































































   9   10   11   12   13