Page 174 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 174
4 | ห น้ า เอกสารประกอบการสัมมนาและนิทรรศการความรู้การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ภายใต้เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ในหัวข้อ “Grow Green Together: Travel Forever”
การประยุกต์ใช้หลักเกณฑ ์
เราแนะน าให้ใช้หลักเกณฑ์ทั้งหมดในการน าไปปฏิบัติ นอกเหนือจากในบางกรณีที่หลักเกณฑ์ไม่สามารถประยุกต์ใช ้
ได้โดยมีเหตุผลที่เหมาะสม อาจจะมีบางสถานการณ์ที่หลักเกณฑ์ไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในบางแหล่งท่องเที่ยวหรือหน่วยงาน
บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากข้อจ ากัดของข้อปฏิบัติของท้องถิ่นนั้น หรือเงื่อนไขทางสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ
หรือวัฒนธรรม ในกรณีของแหล่งท่องเที่ยวหรือชุมชนขนาดเล็ก ทรัพยากรที่จ ากัดอาจจะท าให้ไม่สามารถประยุกต์ใช ้
หลักเกณฑ์ได้ทั้งหมด
เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวนั้นประกอบด้วยหน่วยงานและบุคคลที่หลากหลาย การประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์ควรจะ
ค านึงถึงผลกระทบในภาพรวม การประเมินผลกระทบต่างๆในแหล่งท่องเที่ยวมักจะมองในภาพรวม โดยการประเมินผล
กระทบนั้นไม่ใช่จุดสิ้นสุด แต่เป็นการพัฒนาความยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์และตัวชี้วัดหลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส าหรับแหล่งทองเที่ยว
่
ตัวชี้วัดที่น าเสนอในที่นี้ได้รับการออกแบบเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ด้านการ
ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส าหรับแหล่งท่องเที่ยว ไม่ใช่ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ และไม่ได้จ ากัดการปฏิบัติแค่ในตัวชี้วัดระบุ แต่เป็นการ
ยกตัวอย่างที่ชัดเจนส าหรับผู้ที่จะน าหลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส าหรับแหล่งท่องเที่ยวไปพัฒนาตัวชี้วัดของตนเอง
ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ตัวชี้วัดนี้จะได้รับการปรับปรุงเป็นประจ าเนื่องจากข้อมูลต่างๆที่ได้รับการพัฒนาอย่างสม่ าเสมอ หากท่านต้องการ
เสนอแนะตัวชี้วัดใหม่ๆ หรือ การพัฒนาต่างๆ สามารถส่งข้อมูลมาได้ที่ td@gstcouncil.org
หมวด A: การบริหารจัดการด้านความยั่งยืนที่มประสิทธิภาพ
ี
หลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด
์
A1 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว IN‐A1.a. มีการด าเนินยุทธศาสตร์ของแหล่งท่องเที่ยวในระยะยาว ซึ่ง
อย่างยั่งยืน เน้นไปที่ความยั่งยืนและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยครอบคลุม
แหล่งท่องเที่ยวมีการด าเนินตามยุทธศาสตร์ระยะ ประเด็นทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม คุณภาพ สุขภาพ
ยาวในการบริหารจัดการด้านความยั่งยืน ซึ่ง และความปลอดภัย
สาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีความ IN‐A1.b. มีการด าเนินยุทธศาสตร์หรือแผนงานของแหล่งท่องเที่ยวใน
เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ตลอดจนมีการพิจารณา ระยะยาวที่มีความเป็นปัจจุบันและสาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้
ประเด็นทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม IN‐A1.c. แผนยุทธศาสตร์หรือกลยุทธของแหล่งท่องเที่ยวในระยะยาว
์
วัฒนธรรม คุณภาพ สุขอนามัย ความปลอดภัย ได้รับการพัฒนาจากการมีส่วนร่วมของประชาชน
และความงดงาม โดยแผนยุทธศาสตร์นั้นได้รับการ IN‐A1.d. มีสัญญาประชาคม (สัญญาเชิงการเมือง) ในการน าเอา
พัฒนาจากกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน แผนงานของแหล่งท่องเที่ยวในระยะยาวไปปฏิบัติ และมีหลักฐานแสดง
การน าเอาไปปฏิบัติจริง
A2 มีหน่วยงานรับผิดชอบการบริหารจัดการ IN‐A2.a. หน่วยงาน(องค์กร)มีหน้าที่รับผิดชอบในการประสานภาคีใน
แหล่งท่องเที่ยว การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน