Page 169 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 169
ภาคผนวก 158
ิ
เกษตรอนทรีย์สนามบินสุโขทัย
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agro Tourism) มีความ
โดดเด่นจัดสรรพนที่โดยไม่ต้องลงทุนท า
ื้
ื้
สิ่งปลูกสร้างให้ยิ่งใหญ่ แต่ท าพนที่ให้เป็นพนที่
ื้
เกษตรกรรมให้ความรู้ด้านเกษตร ท านาข้าว
ปลูกผักและท าสวนผลไม้ โดยยึดหลักเกษตร
อนทรีย์ มีโรงเลี้ยงสัตว์ซึ่งมีควายกว่า 200 ตัว
ิ
ิ
กิจกรรมเที่ยวชมกระบวนการท านาและคัดแยกเมล็ดข้าวหอมสุโขทัย และที่ส าคัญมีการน าแนวคิดเกษตรอนทรีย์
มาสร้างมูลค่าเพมให้กับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
ิ่
จัดได้ว่าเป็นแนวคิดของ Creative Tourism ที่
แปลงต้นทุนทางวัฒนธรรมสู่กิจกรรมการท่องเที่ยวได้อย่างลงตัว
อกทั้งยังได้รับรางวัลการันตีจาก PATA Gold Awards ในสาขา
ี
Environment- Ecotourism อกด้ว ย โ ดย ทั้งห มดนี้ ใ ห้
ี
นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับธรรมชาติและวิถีชีวิตที่พอเพยงด้วยวิถี
ี
การนั่งรถชม และท ากิจกรรมอย่างใกล้ชิด อาทิ การขี่ควาย การ
เก็บพืชผักจากแปลงเกษตรอินทรีย์
Sustainable Development Model: WTO
จากแหล่งท่องเที่ยวต้นแบบที่มีชื่อเสียงของการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนทั้งบ้านนาต้นจั่น
และเกษตรอนทรีย์สนามบินสุโขทัย มีการด าเนินการอย่างสมดุลทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านเศรษฐกิจที่เน้นการ
ิ
ิ
ิ่
สร้างมูลค่าเพมทางเศรษฐกิจ (Value Added) จาการด าเนินโครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเกษตรอนทรีย์
และการกระจายรายได้สู่ชุมชนจากกิจกรรมการท่องเที่ยว 2) ด้านสังคมวัฒนธรรมเน้นการเชื่อมโยงการท างาน
และประสานงานระหว่างคนในชุมชนชุมชนกับภาครัฐท้องถิ่นและผู้ประกอบการกับชุมชน ก่อให้เกิดคุณค่า
(Value Creation) ในการกระจายความเจริญสู่พนที่ ซึ่งจะช่วยลดความเลื่อมล้ าทางสังคม และ 3) ด้าน
ื้
ั
สิ่งแวดล้อมเป็นการพฒนาการท่องเที่ยวที่เน้นความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งทั้ง 3 ด้านนี้เป็นหัวใจส าคัญ
ที่จะน าไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่างแท้จริงเมื่อมีการพัฒนาไปพร้อม ๆ กันอย่างสมดุล
ส ารวจศักยภาพปางช้างภูนก เพื่อพัฒนาสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ปางช้างภูนกการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco-Tourism) มีความโดดเด่นทางธรรมชาติ ทั้งภูเขา ป่า
ท้องนา และลานกว้างที่ล้อมรอบวิถีชีวิตการเลี้ยงช้างสามารถพฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวเรียนรู้
ั
ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตการเลี้ยงช้างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะโดยให้ช้างอยู่กับธรรมชาติ ไม่มีการฝึกให้ช้าง