Page 168 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 168
ภาคผนวก 157
ภาคผนวก 2 สุโขทัย อรุณรุ่งของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
สุโขทัย อรุณรุ่ง ของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
เรียบเรียงโดย: นิสิตปริญญาโท สาขาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยนเรศวร
นับเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้วที่กระแสการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้รับการตอบรับอย่างดี นักท่องเที่ยวเกิด
การตื่นตัวด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติไปพร้อม ๆ กับการเดินทางพกผ่อนของ
ั
นักท่องเที่ยว ท าให้เกิดรูปแบบการท่องเที่ยวที่ใส่ใจต่อธรรมชาติ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การศึกษาวิถีชีวิตและ
วัฒนธรรมท้องถิ่นมากขึ้น
ภายหลังการประชุมสุดยอดสิ่งแวดล้อมโลก “Earth Summit” ในปี 2535
เกิดรูปแบบการท่องเที่ยวมากมาย อาทิ Eco Tourism, Agrotourism,
Community-Based Tourism, Epicurean Tourism และ Rural Tourism
ซึ่งรูปแบบการท่องเที่ยวเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน จากการลงพนที่ส ารวจแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุโขทัย พบว่า
ื้
มีแหล่งท่องเที่ยวต้นแบบที่มีชื่อเสียงของการจัดการการท่องเที่ยวอย่าง
ั
ื้
ยั่งยืน และบางพนที่มีศักยภาพสามารถน ามาพฒนาสู่การท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืนได้
บ้านนาต้นจั่น การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community-Based
ั
การมีส่วนร่วมในการท าอาหารของ Tourism: CBT) มีชื่อเสียงจากการเปิดให้เป็นบ้านพกโฮมสเตย์ โดย
นักท่องเที่ยวที่บ้านพักโฮมเสตย์ ระหว่างการพกผ่อนมีกิจกรรมมากมายให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสและ
ั
เลือกสรรเป็นของที่ระลึก อาทิ กิจกรรมสาธิตและให้ความรู้เกี่ยวกับ
ผ้าหมักโคลนที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวในเรื่องของความออนนุ่มของเนื้อผ้า และน ามาออกแบบตัดเป็นชุดรูปทรง
์
่
เก๋ไก๋มากมาย โดยได้รับรางวัลการันตีจาก PATA Gold Awards สร้างประสบการณ์แปลกใหม่จากการ
ุ
ท าอาหารลูกครึ่งระหว่างสุโขทัยกับอตรดิตถ์ “ข้าวเปิ๊บ” เรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการท าตุ๊กตาบาโหน
ื่
ภูมิปัญญาพนบ้านที่ท าของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ เพอเป็นเครื่องออกก าลังนิ้วมือและเพอความเพลิดเพลิน และ
ื้
ื่
ที่บ้านนาต้นจั่นยังอดมสมบูรณ์ไปด้วยผลไม้ประจ าสวน เช่น ทุเรียนหลิน หลงลับแล มะไฟ เงาะ ลองกอง
ุ
ั
ให้นักท่องเที่ยวได้เลือกสรรกิจกรรมระหว่างพกผ่อน