Page 165 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 165

ภาคผนวก     154



                       โศกนาฏกรรมของวาฬทั้งสองกรณีเป็นเพยงยอดภูเขาน้ าแข็งของวิกฤตมลพษพลาสติก การส ารวจ
                                                                                      ิ
                                                         ี
                                                                                      ิ
               ทางวิทยาศาสตร์ พบว่า มีสิ่งมีชีวิตในทะเล 700 สายพนธุ์ที่ได้รับผลกระทบจากมลพษพลาสติกในมหาสมุทร
                                                             ั
                                     ุ
                                                            ั
                                                                               ั
                                    ั
               นกทะเล 9 ใน 10 ชนิดพนธ์ เต่าทะเล 1 ใน 3 ชนิดพนธุ์ ครึ่งหนึ่งของชนิดพนธุ์วาฬและโลมา ทั้งหมดต่างกิน
               พลาสติกเป็นอาหาร นี่คือความท้าทายในยุคมนุษย์ครองโลก (Anthropocene) ภาคส่วนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
               ผู้ผลิตพลาสติกยักษ์ใหญ่ ผู้ก่อมลพษ แนวร่วมของเสียเหลือศูนย์ ห้องปฏิบัติการวิจัย เป็นต้น จะต้องขึ้นมาอยู่
                                            ิ
               ในเวทีระดับเดียวกันเพอหาทางออกจากวิกฤต ช่วงปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน มีความพยายามผลักดันให้เกิด
                                   ื่
               ความตกลงระหว่างประเทศ (International Agreement) แบบพหุภาคีที่มีผลบังคับใช้ทางกฎหมาย
               ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อลดมลพิษพลาสติก

               2. มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)

























                        ที่มา: https://www.greenpeace.org/thailand/story/1774/3-environmental-issues-2018/


                       องค์การอนามัยโลก (WHO) จัดการประชุมสุดยอดว่าด้วยมลพษทางอากาศและสุขภาพครั้งแรก
                                                                             ิ
               ของโลกในช่วงปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา และเผยแพร่แผนที่แสดงค่าเฉลี่ยต่อปีของความเข้มข้นของ
               ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ล่าสุด และแถลงว่าประชากรทั่วโลก 9 ใน 10 คนหายใจ

                                                                                               ื้
               เอาอากาศที่ปนเปื้อนเข้าไป และแม้ว่ามีการยกระดับการจัดการคุณภาพอากาศในหลายพนที่ของโลก
               แต่มหานครหลายแห่งยังมีคุณภาพอากาศเกินเกณฑ์ที่ WHO ก าหนด ในช่วงวันที่ 1 มกราคมถึง 21 กุมภาพันธ์
                                                                ิ
               2561 ที่ผ่านมา กรุงเทพมหานครได้รับผลกระทบจากมลพษทางอากาศที่เลวร้ายที่สุด ในจ านวนรวม 52 วัน
                    ื้
               บางพนที่มีความเข้มข้นเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของ PM2.5 เกินค่ามาตรฐานในบรรยากาศทั่วไปตามข้อก าหนดของ
               องค์การอนามัยโลกถึง 40 วัน ด้วยแรงผลักดันของสาธารณะชน
                                                                          ิ
                       ในที่สุดในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 กรมควบคุมมลพษประกาศ ใช้ดัชนีคุณภาพอากาศ
               (Air Quality Index) ใหม่ที่รวมค่า PM2.5 ถือเป็นหมุดหมายส าคัญของการยกระดับการจัดการคุณภาพ
               อากาศ อย่างไรก็ตาม การรายงาน ดัชนีคุณภาพอากาศโดยใช้ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงนั้น ไม่สามารถรับมือกับวิกฤต

                    ิ
               มลพษ ทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของผู้คนได้ทันท่วงที จ าเป็นต้องรายงานโดยใช้ค่าเฉลี่ยรายชั่วโมง
               โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤตขึ้น
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170