Page 166 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 166
ภาคผนวก 155
3. ความปั่นป่วนของสภาพภูมิอากาศ
เวทีเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) น าเสนอรายงาน the Global Risk Report ก่อนหน้า
การประชุมประจ าปีที่มีขึ้นในเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 โดยสะท้อนมุมมองของผู้เชี่ยวชาญและผู้ก าหนด
นโยบายระดับโลกในเรื่องความเสี่ยงส าคัญที่โลกเผชิญ และเหตุการณ์ภูมิอากาศสุดขั้ว (Extreme Weather
ั
Events) เป็นหนึ่งในความเสี่ยงระดับโลกอนดับต้น เราสัมผัสถึงความจริงใหม่ที่กระทบกับเราโดยตรงมากขึ้น
และประจักษ์ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นไล่เรียงกันจากความแห้งแล้งไปถึงอทกภัยทั่วโลก รวมถึงอุณหภูมิเย็นยะเยือกต่ าสุด
ุ
เท่าที่มีการบันทึกตามแนวชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอมเริกา และหิมะตกในทะเลทรายซะฮาราในเดือน
มกราคม คลื่นความร้อนในสหราชอาณาจักรในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม คลื่นความร้อนในญี่ปุ่นที่ทุบสถิติ
และตามมาด้วยพายุใต้ฝุ่นในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม ไฟป่าตามแนวเส้นวงรอบอาร์กติกในสวีเดนและ
ในกรีซในเดือนกรกฏาคม อทกภัยร้ายแรงในจีนและอนเดียช่วงเดือนสิงหาคม และการแผลงฤทธิ์ของซูปเปอร์
ิ
ุ
ไต้ฝุ่นมังคุดในเดือนกันยายน
ที่มา: https://www.greenpeace.org/thailand/story/1774/3-environmental-issues-2018/
ปี พ.ศ. 2561 ยังได้เห็นถึงการเรียกร้องให้ลงมือท าจากชุมชนวิทยาศาสตร์ โลกเรือนกระจก
(Hothouse Earth) เป็นค าเตือนที่นักวิทยาศาสตร์ประกาศในเอกสารสรุปการประชุมของ สถาบันวิทยาศาสตร์
ิ
แห่งชาติสหรัฐฯ (Proceedings of the National Academy of Sciences) ที่ตีพมพในเดือนกรกฏาคม
์
พ.ศ. 2561 ว่า ทั่วโลกจ าเป็นต้องเปลี่ยนผ่านการใช้พลังงานฟอสซิลสู่ระบบพลังงานหมุนเวียนที่สะอาด
โดยเร่งด่วน มิฉะนั้นโลกอาจเข้าสู่ Hothouse State ซึ่งเป็นสภาวะอนตรายถาวร ส่วนที่ประชุม Global
ั
Climate Action Summit ที่ซานฟรานซิสโกได้มีข้อเสนออย่างถอนรากถอนโคน ถึงการลดการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกลงครึ่งหนึ่งภายในปี พ.ศ. 2573 จากทุกภาคส่วนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (ภาคพลังงาน
ุ
ภาคการผลิตทางอตสาหกรรม ภาคอาคารบ้านเรือน ภาคการคมนาคมขนส่ง ภาคการบริโภคอาหาร
ภาคเกษตรกรรมและป่าไม้)
รายงาน IPCC ฉบับพิเศษว่าด้วยอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก 1.5 องศาเซลเซียส (IPCC Special Report on
ื่
1.5 Degrees) ซึ่งเปิดตัวที่เกาหลีใต้ ระบุว่าเพอหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เป็นหายนะจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ