Page 68 - 5555
P. 68
้
การตรวจคลื่นไฟฟา จะพบว่า
่
ี
ี
ี
อัตราการเต้นของหัวใจ เอเตรยมและเวนตรเคิลเปนอิสระตอกันโดยเอเตรยมจะเต้น 60-100 คร้ ังตอนาท เวนตร ิ
ิ
็
่
ิ
็
ี
่
ิ
ิ
ี
เคลเต้นช้ากว่า 40 คร้งตอนาท จังหวะการเต้นสม าเสมอ ทั้งของเอเตรยมและเวนตรเคล และเปนอิสระตอกัน P wave ปกต ิ
่
่
ั
่
่
่
่
ิ
จ านวน P wave มากกว่า QRS complex PR interval ไมสม าเสมอ QRS complex ผิดปกตข้ ึนอยูกับต าแหนงท ่ ี
สัญญาณไฟฟาถูกขัดขวาง
้
้
ั
ั
การรกษาภาวะหวใจเตนผิดจังหวะ
ุ
ิ
ิ
ิ
ุ
1. ลดส่งกระต้นระบบประสาทซมพาเทตค ลดความเจ็บปวด การใช้เทคนคการผ่อนคลาย การกระต้นประสาทเวกัส
ิ
การนวดบรเวณคาโรตดไซนัส (carotid sinus massage) การกลั้นกายใจแล้วเบ่งเต็มที่ (Valsalva maneuver) (ห้าม
ิ
ิ
ู
่
ท าในผู้ปวยความดันในกะโหลกศีรษะสง)
2. การใช้ยาต้านการเต้นของหัวใจผิดจังหวะและการพยาบาล
Digitalis (Digoxin or Lanoxin, Digitoxin)
ี
ึ
ี
่
เพิ่มแรงบบตัวของหัวใจ ท าให้เลือดไปเลี้ยงรางกายได้ดข้น ใช้บรรเทาอาการของโรคหัวใจวาย เช่น เท้าและข้อเท้าบวม
ั
็
ื่
และหายใจหอบเหนอย เปนยาที่ใช้รกษาภาวะหัวใจวาย และ AF
ผลข้างเคียง
ผลต่อหัวใจ: ท าให้หัวใจเต้นผิดจังหวะได้เช่น PVC, PA with AVB, VF
็
ิ
ปฏิกิรยาการแพ้: คัน ผื่น หน้าบวม มีไข้ ปวดข้อ เกรดเลือดต ่า
การพยาบาล
ี
1. อ่านฉลากยาอย่างรอบคอบก่อนเตรยมยา
็
่
ี
2. ประเมินสภาพผู้ปวยเช่น V/S, ผลตรวจ electrolyte เพื่อเปนข้อมูลเปรยบเทียบ
3. นับอัตราการเต้นของหัวใจก่อนให้ยาเต็ม 1 นาท ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่า 60 คร้งตอนาท รายงานแพทย์
่
ั
ี
ี
4. ให้รบประทานยาหลังอาหารเพื่อลดอาการข้างเคียง
ั
5. บันทึก I/O, body weight
ี
ิ
6. สังเกตอาการ hypokalemia เพราะ โปแตสเซยมในเลือดต ่าจะท าให้เกิดพิษจากยาดิจทาลิสได้ง่าย
7. สอนให้ผู้ปวยสังเกตและรายงานอาการของ digitalis intoxication
่
้
3. การช็อคด้วยไฟฟา
่
ิ
ี
ื
้
็
เปนการปล่อยกระแสไฟฟาผ่านเข้ากล้ามเน้อหัวใจ มผลให้ SA node กลับมาท าหน้าที่ใหมได้อย่างปกต โดยใช้
ุ
ื่
ิ
้
ี
้
เครองกระต้นหัวใจด้วยไฟฟา (Defibrillator or Cardiovertor) ชนดของการช็อคด้วยไฟฟา มี 2 วิธ คือ
1. Cardioversion or Synchronize cardioversion มักท าใน AF, SVT, VT
2. Defibrillation มักท าในรายที่มี VF, VT