Page 70 - 5555
P. 70
7. แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
่
ื่
8. มีความพรองในการดูแลตนเองเนองจากถูกจ ากัดกิจกรรม
่
9. ญาติผู้ปวยมีความวิตกกังวล
หลักการพยาบาล
ั
่
1. เพื่อให้ผู้ปวยได้รบออกซเจนอย่างเพียงพอ
ิ
- จ ากัดกิจกรรม
- ดูแลให้พักผ่อน
ั
ิ
ั
- ดูแลให้ได้รบออกซเจนตามแผนการรกษา
- สงเสรมให้มีการแลกเปลี่ยนก๊าซอย่างเพียงพอ เช่น การจัดท่า การดูแลทางเดินหายใจ
ิ
่
่
2. สงเสรมการท างานของหัวใจ และเฝาระวังการเกิดภาวะวิกฤตจากหัวใจ
้
ิ
้
- เฝาระวังการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด วัดสัญญาณชีพ ทุก 1 ชม.
- เฝาระวังการเปลี่ยนของคลื่นไฟฟาหัวใจอย่างใกล้ชิด
้
้
่
- เฝาระวังการเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนในผู้ปวยที่มี invasive monitoring
้
ิ
ั
ี
ั
- ดูแลให้ได้รบยา antiarrythmic, inotropic drug ตามแผนการรกษา รวมทั้งตดตามอาการข้างเคยง
ั
ั
3. รกษาความสมดลของน ้า และ อิเล็คโตรลัยท์ โดยเฉพาะในรายทได้รบยาขับปสสาวะ
ุ
่
ี
ั
ั
4. ดูแลให้ได้รบสารอาหารอย่างเพียงพอ
่
5. ลดความวิตกกังวลของผู้ปวยและญาต ิ
้
ี
ั
้
ู
ึ
ั
ู
6. กรณที่ผู้ปวยจ าเปนต้องได้รบการรกษาด้วยการช็อคไฟฟา และผู้ปวยรสกตัวด พยาบาลควรให้ความมั่นใจ และดแล
่
็
ี
่
่
ั
ให้ผู้ปวยได้รบยากล่อมประสาทตามแผนการรกษา หลังการช็อคไฟฟาต้องเฝาระวังการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟา ้
ั
้
้
อย่างใกล้ชิด
การพยาบาลผูปวยภาวะหวใจลมเหลว
้
้
ั
่
ื
ื
ภาวะหัวใจล้มเหลวเกิดจากโรคกล้ามเน้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดหัวใจตีบ หรอเกิดหัวใจวาย (heart attack)
่
ี
่
ื
ิ
ู
และ ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure) สาเหตอืนทพบ ได้แก่ ความดันโลหตสง โรคลิ้นหัวใจ และการตดเช้อของ
ุ
ิ
ู
ี
ุ
ิ
ื
กล้ามเน้อหัวใจ สาเหตตางๆ เหล่าน้ ท าให้กล้ามเน้อหัวใจสบฉดเลือดลดลง ท าให้ปรมาณเลือดไหลผ่านรางกายลดลง
่
ี
ื
่
ึ
่
่
็
ิ
่
ู
ึ
ึ
ั
่
ิ
ด้วย หัวใจจงพยายามปรบตัวให้ปรมาณเลือดซงจะสบฉดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกายเปนปกต ห้องหัวใจจงขยายตัว
ี
่
ึ
่
เพือเก็บกักเลือดให้มากข้น ซงจะท าได้เพียงระยะหนงเทานั้น เพราะกล้ามเน้อห้องหัวใจทยืดขยายน้จะอ่อนล้าและไม ่
ี
่
ี
ึ
่
ึ
่
ื
่
ี
่
ี
สามารถสบฉดได้ดีอีกต่อไป ในการบีบตัวแตละคร้ง หัวใจทอ่อนก าลังจะสบฉดเลือดได้น้อยลง
ี
ู
ู
ั
ี
- ท าให้มน ้า (ของเหลว) ค้างในปอด