Page 29 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 29
28
จากที่ก าหนดไว้ เครื่องวัดจะส่งสัญญาณไฟฟ้ากลับไปยังเครื่องรีดเพื่อปรับอัตราการรีดให้ได้ความหนาตาม
มาตรฐานที่ตั้งไว้
รูป 20.26 การควบคุมความหนาของแผ่นโลหะ โดยอาศัยรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี
การตรวจสอบความเรียบร้อยของการเชื่อมโลหะ การเชื่อมท่อ การต่อท่อที่ใช้ส าหรับความดันสูง การ
เชื่อตัวเรือด าน้ า การตรวจสอบประเภทนี้สามารถท าได้โดยใช้รังสีแกมมาซึ่งสามารถทะลุผ่านโลหะได้ โดย
น ากัมมันตรังสีที่ให้รังสีแกมมาวางไว้ด้านหนึ่งของสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ แล้วใช้จอหรือแผ่นฟิล์มรับรังสี
ตรงข้าม เมื่อน าฟิล์มไปล้างสามารถเห็นภาพภายในวัตถุได้ว่ามีร้อยร้าวหรือโพรงหรือไม่ ช่วยประหยัดเวลา
แรงงานกว่าวิธีอื่นๆ
การเปลี่ยนสีของพลอยให้มีสีสันสวยงามเพื่อเป็นที่ต้องการของตลาดและเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้น สามารถ
ท าได้โดยใช้รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอล-60 ฉายพลอย ท าให้สีของพลอยเปลี่ยนไป เนื่องจากรังสีแกมา
ท าให้ต าแหน่งอิเล็กตรอนของพลอยเปลี่ยนไป สีของควอตซ์ก่อนฉายรังสีแกมมาและรังฉายรังสีแกมมาจาก
รูป 20.27
ก. ควอตซ์กอนฉายรังสีแกมมา ข. ควอตซ์หลังฉายรังสีแกมมา
่
รูป 20.27 สีของควอตซ์กอนและหลังฉายรังสีแกมมา
่
4. การใช้กัมมันตรังสีหาอายุวัตถุโบราณ
ี
การหาอายุของวัตถุโบราณมความส าคัญมากในการศึกษาโบราณคดี และธรณีวิทยา การหาอายุวัตถุ
ื
โบราณมีหลายวิธี แต่วิธีที่ใช้กันมากคอ การหาอายุด้วยคาร์บอน-14 เนื่องจากองค์ประกอบส าคัญของสิ่งมีชีวิต
ทั้งหลายคือ ธาตุคาร์บอน โดนส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของคาร์บอน-12 ซึ่งเป็นธาตุเสถียร และมีคาร์บอน-14 เป็น
ธาตุกัมมันตรังสีที่มีปริมาณน้อย คาร์บอน-14 ในสิ่งมีชีวิตจะสลายด้วยครึ่งชีวิต 5,730 ± 30 ปี ซึ่งเป็น
เวลานาน ดังนั้น ในขณะที่มีชีวิตอยู่ อัตราส่วนของคาร์บอน-14 ต่อคาร์บอน-12 ในร่างกายของสัตว์และในพืช
จะมีค่าคงตัว แต่เมื่อสิ้นสุดชีวิตลงโอกาสที่จะได้รับคาร์บอนตามปกติก็จะหยุดลงด้วย ดังนั้นอัตราส่วนคาร์บอน
ทั้งสองก็จะลดลงเรี่อยๆ และสามารถค านวณหาอายุของสัตว์หรือพืชได้จากอตราส่วนดังกล่าว เช่น การตรวจ
ั