Page 34 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 34
33
ู
งานในด้านการแพทย์และอุตสาหกรรมแล้วจะถกเก็บใส่กล่องดลหะที่ผนึกปิดแน่นหนา แล้วน าไปฝังกลบ
เพื่อให้รังสีสลายไปตามธรรมชาติ
20.8.3 การป้องกันอันตรายจากรังสี
อันตรายจากรังสีนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่นปริมาณพลังงานจากรังสีต่อมวลของเนื้อเยื่อที่ถกรังสี
ู
และความส าคัญของอวัยวะส่วนที่ถูกรังสี ดังนั้น ผู้ที่จะน าสารกัมมันตรังสีไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าในด้านการแพทย์
การเกษตร อุตสาหกรรม ตลอดจนการค้นคว้าทางด้านวิทยาศาสตร์ จะต้องมีความรู้เรื่องรังสีเป็นอย่างดี คือ
รู้จักวิธีใช้อย่างปลอดภัย และวิธีป้องกันอันตรายจากรังสี
หลักการป้องกันอันตรายจากรังสี
1. เนื่องจากปริมารรังสีที่ร่างกายได้รับขึ้นกับเวลา เช่น ถ้าเดินไปในบริเวณที่มีรังสีนาน 20 นาที จะได้รับ
รังสีประมาณ 2 เท่า ของผู้ที่เข้าไปในบริเวณนั้นนานเพียง 10 นาที ดังนั้น ถ้าจ าเป็นต้องเข้าใกล้
บริเวณที่มีธาตุกัมมันตรังสีควรใช้เวลาสั้นที่สุดเท่าที่จะท าได้
2. เนื่องจากปริมาณรังสีจะลดลงถ้าบริเวรนั้นอยู่ไกลจากแหล่งก าเนิดรังสีมากขึ้น ดังนั้น จึงควรอยู่ห่าง
บริเวณที่มีธาตุกัมมันตรังสีให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
3. เนื่องจากรังสีต่างชนิดกัน มีอานาจในการทะลุผ่านวัสดุได้ดีต่างกัน ดังนั้น จึงควรใช้วัสดุที่รังสีทะลุผ่าน
ได้ยากมาเป้นเครื่องก าบัง เช่น ตะกั่ว หรือคอนกรีต ซึ่งสามารถเป็นเครื่องก าบังรังสีแกมมาและรังสี
บีตาได้ดี และนิยมใช้น้ ามันเป็นเครื่องก าบังนิวรอน
ในประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2543 คนเก็บของเก่าเพื่อน าไปขายได้น ากล่องโลหะที่บรรจุ
โคบอลต์-60 ไปแยกชิ้นส่วนเพื่อน าโลหะไปขาย ท าให้รังสีกระจายไปถูกตนเองและผู้อื่นเป็นเหตุให้มี
ผู้เสียชีวิตและเจ็บป่วยจ านวนหนึ่ง
รูป20.31 ตัวอย่างสัญลักษณ์แสดงว่ามีรังสี
ี่
ในการท างานที่เกยวกับรังสีนั้น มักใช้หุ่นยนต์ หรือแขนกลสัมผัสธาตุกัมมันตรังสีแทนการใช้มนุษย์
โดยผู้ควบคุมหหุ่นยนต์จะอยู่ห่างออกไป แล้วใช้ระบบรีโมตหรืออิเล็กทรอนิกส์ควบคุมการท างานท างาน
ของแขนกล