Page 36 - รวมเล่ม(2)
P. 36

ขนมไทยในเทศกาลสารท



                       วันสารทไทย ตรงกับวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10 เป็นเทศกาลทำบุญเดือน 10

               ของไทย ซึ่งเป็นประเพณีที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณตามหลักฐานพบว่ามีมาตั้งแต่ครั้ง

               สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธาน
                                             ี

                                                        ประวัติ



                     สารทเป็นคำที่มาจากภาษาอินเดย แปลว่า
                                                      ี
             ฤดู ซึ่งฤดูสารทนี้เป็นฤดูที่ต้นไม้เริ่มออกผล เมื่อ

             ถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยผู้ที่ต้องการให้พืชพันธุ์

             ธัญญาหารของตนเจริญงอกงามดี ก็ได้นำพืชพันธุ์

                                        ั
             เหล่านั้นไปถวายสิ่งที่ตนนบถือ ซึ่งประเทศต่างๆ
             นั้นก็นิยมทำเมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ย เช่น ในประเทศจีน

                                                                ี
             เมื่อมีการเก็บเกี่ยวผลิตผลในครั้งแรกนั้นประเพณนิยมที่ต้องนำผลไม้ที่เก็บเกี่ยวในครั้งแรก
                                                                             ิ์
                                                                      ิ่
                                          ิ
                                  ิ่
             นี้ ถวายสักการะแด่สงศักดิ์สทธิ์ที่เคารพบูชา ทั้งนี้เพื่อสงศักดสิทธิ์เหล่านั้นจะได้ดลบันดาล
             ให้พืชผลเจริญงอกงามดี แม้แต่ในประเทศแถบ
             ตอนเหนือของยุโรป ก็มีหลักฐานปรากฏว่ามีการ
             นำพืชพันธุ์ธัญญาหารไปถวาย เพื่อให้ผลิตผล

             อุดมสมบูรณ์เช่นกัน

                       ส่วนในประเทศไทยประเพณีการทำบุญ

             วันสารทเป็นพิธีกรรมที่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย

             ตามที่ปรากฏหลักฐานในหนังสือของนางนพมาศ
             เนื่องจากศาสนาพราหมณ์เผยแพร่เข้ามาในประเทศไทย คนไทยจึงรับประเพณีนี้มาจาก

             ศาสนาพราหมณ์ด้วย ดังที่ปรากฏหลักฐานในหนังสือพระราชพิธีสิบสองเดือนซึ่งเป็นพระ

             ราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

                       เมื่อพราหมณ์มีสืบเนื่องกันมาช้านนานหลายพันปีเช่นนี้ จึงเป็นที่นับถือของคนทั้ง

             ปวง ในหนังสือต่าง ๆ ซึ่งชนที่นับถือพระพุทธศาสนาแต่ง ที่สุดจนธัมมจักกับปปวัตนสูตร
             เป็นต้น ซึ่งอ้างว่าเป็นพทธภาษิตแท้ก็ยังเรียกสมณะกับพราหมณ์เป็นคู่กัน พราหมณ์เป็นที่
                                     ุ
             นับถือไม่มีผู้ใดอาจหมิ่นประมาท ถ้าพราหมณเหมือนอย่างเช่นบ้านเราอย่างนี้แล้ว ก็เห็นจะ
                                                            ์
                                                                              ั
             ไม่ยกขึ้นเป็นคู่กับสมณะ พราหมณ์เป็นที่นับถืออย่างเอกอย่างนบถือพระสงฆ์เช่นนี้ จึงได้
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41